แคลคูลัส 1 สำหรับวิศวกร

Calculus 1 for Engineers

1. นำฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่องไปใช้
2. นำอนุพันธ์และการประยุกต์ไปใช้
3. นำการหาปริพันธ์ และเทคนิคของการหาปริพันธ์ไปใช้
4. นำการประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขตไปใช้
5. เป็นวิชาพื้นฐานในการศึกษาวิชาแคลคูลัสชั้นสูงและวิชาชีพทางด้านวิศวกรรม
6. เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ของผู้เรียนในด้านการฝึกสมองอันเป็นแนวทางทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
เพื่อจัดทำรายวิชาให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
           ศึกษาเกี่ยวกับ ฟังก์ชั่น ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ รูปแบบยังไม่กำหนด การประยุกต์อนุพันธ์ การหาปริพันธ์  เทคนิคการหาปริพันธ์   การประยุกต์ ของปริพันธ์จำกัดเขต
3.1 กำหนดให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / รายวิชา
3.2 กำหนดวัน - เวลา (ขึ้นกับตารางสอนของอาจารย์ผู้สอนที่ว่าง) โดยประกาศให้ทราบทั่วกันในห้องเรียน
1.1.1. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3. มีคุณธรรมของความเป็นผู้นำและผู้ตาม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพใน
คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4. ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2.1. บอกข้อปฏิบัติในการเรียน เกี่ยวกับการเข้าห้องเรียนและเช็คชื่อเข้าเรียน การส่งงานที่มอบหมาย
1.2.2. กำหนดกฎระเบียบ การแต่งกาย การใช้ห้องเรียนและอุปกรณ์ ตลอดจนการช่วยดูแลสภาพแวดล้อมรอบๆ ห้องเรียน และบริเวณอาคารเรียน
1.3.1. เช็คชื่อหรือตรวจสอบการเข้าเรียน และตรวจสอบการส่งงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2. บันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา ขณะที่เรียน
1.3.3  สังเกต การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตน ในข้อตกลงที่กำหนดไว้
มีความรู้ในฟังก์ชั่น ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิสัย การประยุกต์ของอนุพันธ์ ปริพันธ์ และเทคนิคการหาปริพันธ์ ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์
..1. บรรยาย ... สาธิตการใช้อุปกรณ์ และสื่อการสอน ..3. นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสอนหรือประกอบบทเรียน
2.3.1. การสอบ
2.3.2. การตรวจงานที่มอบหมาย
2.3.3. ซักถามและรายงาน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1. เข้าใจปัญหา และรูปแบบทางคณิตศาสตร์
3.1.2. มีลำดับขั้นตอนในการคิด คำนวณ อย่างมีระบบ
3.2.1. อธิบาย นิยาม ความหมาย กฎและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
3.2.2. การยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
3.3.3. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.1. ประเมินผลงานนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
3.3.2. นักศึกษารายงานที่มอบหมาย
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1. ในขั้นตอนนำเข้าสู่บทเรียน แทรกด้วยการแนะนำ

.2.2. สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ตามโครงการสอนรายวิชา ที่ผู้สอนจัดทำ) .2.3 จัดกลุ่มเรียนเพื่อมอบหมายงานค้นคว้าเพิ่มเติม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
.1.1. ทักษะการคิดคำนวณ และการแก้โจทย์ปัญหาได้ การใช้โปรแกรมการคำนวณทางคณิตศาสตร์
บรรยาย และยกตัวอย่างการคำนวณ .2.2. สาธิตการใช้อุปกรณ์ในการคำนวณ และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคณิตศาสตร์
5.3.1 ตรวจงานทุกหน่วยเรียน
5.3.2 ติดตามงานที่มอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 15% 20% 15% 20%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1–4.6, 5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4
5
สมพงษ์ แจ่มยวง และคณะ (2552). แคลคูลัส 1 (ปรับพื้นฐาน). พิมพ์ครั้งที่ 1. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น.
บุปผา ไกรสัย, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรม 1, ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พฤษภาคม, 2548.
ศรีบุตร แววเจริญ และ ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง, คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะ คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2545
ภาควิชาคณิตศาสตร์ แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาลัยเชียงใหม่ ,เชียงใหม่ : พิมพ์ครั้งที่ 2 ,2542
ปราโมทย์ ประเสริฐ คณิตศาสตร์2 มหาวิทยาลัยนเรศวร , พิษณุโลก : พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2542
ANTON HOWARD Calculus with Analytic Geometry , Fourth Edition , JOHN WILEY & SONG, INC ,1992
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ในการสอน
2.2 ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา