การสัมมนาภาษาอังกฤษ

Seminar in English

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาในการสัมมนาเชิงวิชาการ ฝึกการใช้สำนวนภาษาอังกฤษเพื่อนำไปประยุกต์ใช้การนำเสนอผลงาน และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
การค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
 
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2.1.1.2  มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
2.1.1.3  มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2.1.1.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้
2.1.2.3  สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.1.2.4  ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ
2.1.3.2  การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
2.1.3.3  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
2.2.1.3  มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่หลากหลาย
2.2.1.4  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
2.2.2.1  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2.2.2.3  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.3.2  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
2.2.3.3  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.3.4  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
2.3.1.3  สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม
2.3.1.4  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได้
 
2.3.2.1  จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
2.3.2.2  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
2.3.3.2  การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่างๆ
2.3.3.3  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ในสถานประกอบการ
2.4.1.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม  มีความรับผิดชอบ  ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
2.4.1.2  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม  
2.4.1.3  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
2.4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
2.4.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
2.4.2.4  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
2.4.3.2  การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
2.4.3.3  การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา
2.4.3.4  การสังเกตพฤติกรรมและการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
2.5.1.2  สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม  มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
2.5.1.4  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5.2.2  ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากหัวข้อที่ศึกษา
2.5.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในการนำเสนองาน
2.5.3.1  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
2.5.3.2  พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
2.6.1.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ได้ศึกษา
ได้อย่างเหมาะสม
2.6.1.2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา 
มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
2.6.1.4  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหา
เชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
2.6.2.1  สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.6.2.2  จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
2.6.2.3  สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ฝึกงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา 
2.6.3.1  งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
2.6.3.2  พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม 1-15 10%
2 2.3 2.4 3.3 3.4 4.3 5.3 5.4 6.2 6.4 ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ 1-15 50%
3 2.3 2.4 ทดสอบ 10 20%
4 5.3 5.4 ผลงานการนำเสนองาน 17 20%
Konchiab, S.,  & Pojchanaphong, D. (2018). Learners’ perceived skills for twenty-first century from the integration of design thinking in Seminar in English class. In I. Pramoolsook, & K. Wingate (Eds.), Proceedings of International Conference of English Langauge Studies (ICELS) (pp. 33-34). Nakhon Ratchasima, Thailand: Suranaree University of Technology. 
สุภรพรรณ คนเฉียบ และ มิ่งขวัญ กันจินะ. (2563). ผลการประเมินตนเองด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักศึกษาไทยที่เข้าร่วมกิจกรรมการคิดเชิงออกแบบเพื่อนวัตกรรมทางสังคม.วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(2), 316-327.
 
Jeab  Chaitongrut. 2557.  วตัถุประสงคก์ารจดัสัมมนาและประโยชนก์ารจดัสัมมนา. https://www.l3nr.org/posts สืบคน้เมื่อ 15  กรกฎาคม 2557.  นิรันดร์ จุลทรัพย์    (2547 :  269)  กล่าวว่า  ค าว่า  “สัมมนา” . 2557.ความหมายของค าว่าสัมมนา. https://sites.google.com/site/karsammna/khana/sarbay/bth-thi-1-khwam-ru-thawpi-keiyw-kab-karsammna/khwam-hmay-khxng-kar-sammna/watthuprasngkh-laea-pea-hmay-khxng-kar-sammna/xngkhprakxb-khxng-kar-sammna.  สืบคน้ 15  กรกฎาคม 2557 Singapore Polytechnic (2015). Design thinking Handbooks. Singapore: Singapore polytechnic.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์