ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
Academic English
1.1 สามารถเลือกใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 สามารถพูดและเขียนอธิบาย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เชิงวิชาการได้
1.3 สามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในบริบทเชิงวิชาการได้
1.4 สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทเชิงวิชาการได้
1.2 สามารถพูดและเขียนอธิบาย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เชิงวิชาการได้
1.3 สามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในบริบทเชิงวิชาการได้
1.4 สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทเชิงวิชาการได้
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติ บัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาคําศัพท์ สํานวน โครงสร้างภาษาอังกฤษ โดยเน้นหลักการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสรุปความ และการนําเสนอในบริบททางวิชาการ
Study vocabulary, expressions, and structures of English emphasized on principles of listening, speaking, reading, and writing. Practice summarizing and giving presentations in an academic context.
Study vocabulary, expressions, and structures of English emphasized on principles of listening, speaking, reading, and writing. Practice summarizing and giving presentations in an academic context.
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ โทร 130-131 e-mail; และ ms team ทุกวัน
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. ทดสอบด้วยความสุจริต สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอบ
2. การทดสอบปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ทดสอบการทำกิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
2. การทดสอบปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ทดสอบการทำกิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation 6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation 6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. งานที่มอบหมาย
2. สถานการณ์จำลอง
3. การสอบ
4. ผลงาน
5. การนำเสนอผลงาน
2. สถานการณ์จำลอง
3. การสอบ
4. ผลงาน
5. การนำเสนอผลงาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. งานที่มอบหมาย 2. สถานการณ์จำลอง 3. การสอบ 4. ผลงาน 5. การนำเสนอผลงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 2. งานที่มอบหมาย 3. สถานการณ์จำลอง 4. ผลงาน 5. การนำเสนอผลงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 2. สถานการณ์จำลอง 3. ผลงาน 4. การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าคุณธรรม จิรยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทดฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดต่อความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจขากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผูัตาม | 4.3 สมารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาสม | 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขเทคโนโลยีแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล |
1 | GEBLC103 | ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1-3 | สอบกลางภาค | 9 | 25 |
2 | หน่วยการเรียนที่ 4-6 | สอบปลายภาค | 17 | 25% |
3 | จิตพิสัย | การเข้าห้องเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน การแต่งกาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | หน่วยการเรียนรู้ที่ 1-6 | สอบระหว่างเรียน | สัปดาห์ที่ 4, 8 สัปดาห์ที่ 12, 16 | 20% |
5 | หน่วยการเรียนที่ 1-6 | แบบฝึกหัด / กิจกรรม | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
-Oxford, Headway Pre-intermediate (B1), Liz&John Soars and Paul Hancock -www.headwayonline.com
-Adams, Carl R. and Toyama, Setsuko J. (1997). Journeys: Listening and Speaking 1. -Prentice Hall Asia ELT: Singapore. -Adelson-Goldstein,Jayme.(1991).Listening First: Focused Listening Tasks for Beginners. Hong Kong: Oxford University -Arnold Schwarzenegger.2009). Governor Arnold Schwarzenegger [Online]. Available - Greenall, Simon and Garton-Sprenger, Judy. (1991). Flying Colours Workbook. London: Heinemann. -Benz, Cheryl & Dworak,Kara.(2000).Tapestry Listening &Speaking 1. U.S.A.: Heinle & Heinle Thomson Learning.
เนื่องจากสถารการณ์ โควิด 19 จึงมีการประเมินที่เปลี่ยนรูปแบบตามสถานการณ์
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนแบบ online
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียนในห้องเรียน online ด้วย Microsoft Teams
- การสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล - ผลการสอบ ออนไลน์ - การทบทวนผลประเมินการเรียนรู้ จากการตอบสนองในการเรียนรู้แบบ ออนไลน์
เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ที่ระบาดทำให้ทางผู้สอนต้องมีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบที่ใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพื่อลดการติดต่อของเชื้อไวรัส และเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบ social distancing
จึงจัดการเรียนการสอน แบบ online ด้วย Microsoft Teams และใช้ตัวprogram บทเรียน ออนไลน์ มาเป็นสื่อในการเรียนการสอน
เพิ่มเติมการเรียนรู้ด้วยตัวเองนอกชั้นเรียน ด้วยโปรแกรมภาษาอังกฤษของศูนย์ภาษาเพิ่มเติม เพื่อสามารถให้นศได้วัดผลสัมฤทธิ์ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการสอบทวนผลสัมฤทธิ์ ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการสอบทวนผลสัมฤทธิ์ โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ ๑ และ ๒ มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพจากผลการประเมิน และทวนผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้เรียนรู้ในมุมมองต่างๆ