มาตรฐานการผลิตทางการประมง

Fishery Production Standard System

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบ และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ
1.2 รู้และเข้าใจมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1.3 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1.4 ตระหนักถึงความสำคัญของการกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิต และผลิตภัณฑ์ประมง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์น้ำ  การปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่นำไปสู่การกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ประมงที่ดี
1 ชม./สัปดาห์
1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสัมคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา แต่งกายให้เป็นไปตามระเบียบ นักศึกษาต้องมีความรับผิดดชอบ มีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม และจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยอกย่องนักศึกษาที่ทำความดี และทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและมีความเสียสละ เป็นต้น
1. ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด และร่วมกิจกรรมที่กำหนด
2. ประเมินความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ
 
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการและทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ทำการสอนโดยใช้วิธีการค้นคว้าหาข้อมูลที่ทันสมัยจากเวปไซต์ตามเนื้อหาสาระของรายวิชาแล้วนำเสนองาน พร้อมกับอภิปรายและเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน พร้อมซักถามความเข้าใจจากนักศึกษา
1.การทดสอบย่อย
2.การสอบกลางภาคและปลายภาค
3.ประเมินจากการนำเสนองานในชั้นเรียน
 
3.1.1สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
 3.1.2สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.1.3ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึงแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีการและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูล และใช้ความรู้แก้ไขโจทย์ปัญหา
1.ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.การทดสอบ
 
4.1.1มีภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทนละ หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัยและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.2มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณะสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานเป็นทีม โดยจับกลุ่มค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเพื่อการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
การสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1มีทักษะการสื่อสาร หมายถึงความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียนเพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการให้ภาษาอังกฤษในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.1.2มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยให้นักศึกษาได้มีการค้นคว้าข้อมูลที่ทันสมัยจากเวบไซต์ต่างๆ แล้วนำมานำเสนองาน เปิดโอกาสให้ผู้สอนและผู้ร่วมชั้นเรียนได้มีการซักถามและอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6.1.1มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึงมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 1. 2. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 1.
1 BSCAG309 มาตรฐานการผลิตทางการประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 บันทึกการเข้าเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบวินัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1,3.1.2 การตอบปัญหาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1.1 การทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3 การสอบกลางภาค 9 20%
5 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3 การสอบปลายภาค 17 20%
6 4.1.1, 5.1.1, 5.1.2 การนำเสนองาน 10-16 30%
สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, กรมประมง,
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร, กรุงเทพฯ. 185 น.
เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน.2539.หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. เอกสารประกอบการสอนวิชา พล.301 หลัก              การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง คณะผลิตกรรมการเกษตร, สถาบัน                    เทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้. 210 น.
คเชนทร เฉลิมวัฒน์. 2544. การเพาะเลี้ยงหอย. พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 253 น.
นฤมล อัศวเกศมณี. 2549. การเลี้ยงปลาน้ำจืด :โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติฯ.  คณะ
       เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, สงขลา. 168 น.
ภาณุ เทวรัตน์มณีกุล, สุจินต์ หนูขวัญ และวีระวัชรกรโยธิน. 2545. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด.  
        www.fisheries.go.th
เวปไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
๑.๓  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
๒.๑  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
๒.๒  ผลการเรียนของนักศึกษา
 ๒.๓  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา เฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียนมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี