เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ

Personality Development Techniques

1.1 มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ 1.2 มีความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการวัดบุคลิกภาพ 1.3 มีความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาบุคลิกภาพ 1.4 มีความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยสัมพันธ์กับบุคลิกภาพ และความคิดกับบุคลิกภาพ 1.5 มีความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพที่พัฒนาสมบูรณ์
1.6 มีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ 1.7 มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาจิตวิทยาประยุกต์
2.1 เพื่อให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่า มนุษยดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมี คุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
       ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ทฤษฎีบุคลิกภาพ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ เทคนิควิธีปรับปรุงบุคลิกภาพ การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง สุขภาพและการปรับตัว อิทธิพลของมนุษยสัมพันธ์ต่อบุคคล มนุษยสัมพันธ์กับบุคลิกภาพ และบุคลิกภาพที่พัฒนาสมบูรณ์
- อาจารย์ผู้สอนแจ้งตารางสอนให้นักศึกษาทราบวันและเวลาว่างของตนเอง - อาจารย์ผู้สอนแจ้งแนวทางในการให้คำปรึกษาที่ห้องพักอาจารย์แผนกสังคมศาสตร์ ชั้น 8 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 56 พรรษา ให้คำปรึกษาผ่านโทรศัพท์มือถือ Line Application และ Microsoft Teams - อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
    1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม     1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ     1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม     1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    1.2.1 สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม      1.2.2 ปลูกฝังจรรณยาบรรณวิชาชีพ      1.2.3 ให้ความสำคัญกับการตรงเวลา และการส่งงานในเวลาที่กำหนด      1.2.4 ใช้กรณีศึกษา การอภิปรายกลุ่ม ใบงาน และแบบทดสอบ
   1.3.1 ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม การทำกิจกรรมตามใบงาน     1.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบเชิงจิตวิทยา    1.3.3 การให้คะแนนเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา     1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน
 
    2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา      2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา      2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
    2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ     2.2.2 มอบหมายให้ทำงานรายบุคคลและงานกลุ่ม แล้วนำเสนอหน้าช้ันเรียน      2.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาและเหตุการณ์ปัจจุบัน     2.2.4 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
    2.3.1 ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน      2.3.2 พิจารณาจากงานรายบุคคล งานกลุ่มที่มอบหมาย และรูปแบบการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน      2.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
    3.1.1 ทักษะในการประยุกต์ความรู้ เพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตและการเรียน     3.1.2 ทักษะในการนำความรู้มาคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
    3.2.1 การศึกษาค้นคว้า ทำกิจกรรมในชั้นเรียน ทำกิจกรรมตามใบงาน     3.2.2 มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
    3.3.1 ประเมินจากผลงานที่ทำในชั้นเรียน และการนำเสนองาน      3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม     3.3.3 การสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
   4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี     4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม     4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม     4.1.4 สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการช่วยเหลือสังคมได้อย่างเหมาะสม
    4.2.1 เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน     4.2.2 แบบฝึกหัดในชั้นเรียน     4.2.3 กิจกรรมในชั้นเรียน     4.2.4 การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
    4.3.1 การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและผู้อื่น    
    4.3.2 การนำเสนอผลงาน      4.3.3 การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน    
    4.3.4 การอภิปรายและทำงานในชั้นเรียน     4.3.5 การทำงานกลุ่ม
     5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม    
     5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การนำเสนองาน และวิเคราะห์กรณีศึกษาหรือเหตุการณ์ปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม     
     5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     5.2.1 กรณีศึกษา    
     5.2.2 กิจกรรมในชั้นเรียน    
     5.2.3 วิดีทัศน์    
     5.2.4 การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
     5.3.1 การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและผู้อื่น    
     5.3.2 การวิเคราะห์บุคลิกภาพกรณีศึกษา    
     5.3.3 การวิเคราะห์บทความเชิงจิตวิทยา
     6.1.1 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต    
     6.1.2 มีความขยัน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย    
     6.1.3 ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
      6.2.1 เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน    
      6.2.2 แบบฝึกหัดในชั้นเรียน    
      6.2.3 กิจกรรมในชั้นเรียน    
      6.2.4 การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
 
      6.3.1 การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและผู้อื่น    
      6.3.2 การวิเคราะห์กรณีศึกษา    
      6.3.3 การวิเคราะห์บทความทางจิตวิทยา    
      6.3.4 การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน    
      6.3.5 การอภิปรายและทำงานในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.4, 3.3, 4.2, 4.4, 5.3, 6.2, 6.3 การเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 9 10
2 1.3, 2.4, 3.1, 3.3, 4.3, 5.3, 6.3 การเขียนโปรแกรมพัฒนาบุคลิกภาพ 17 10
3 1.3, 3.3, 4.3, 4.4, 5.3, 6.2, 6.3 การวิเคราะห์กรณีศึกษา 9 10
4 1.3, 3.3, 4.3, 4.4, 5.3, 6.2, 6.3 การวิเคราะห์บุคลิกภาพของบุคคลต้นแบบ 12 10
5 1.3, 2.4, 3.3, 4.2, 4.4, 5.3, 6.2, 6.3 จิตพิสัย 17 10
6 สอบกลางภาค 9 25
7 สอบปลายภาค 17 25
ธัญญลักษณ์ บุญลือ (2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน (GEBSO106)
คณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.(2555). จิตวิทยาทั่วไป.เชียงใหม่: โรงพิมพ์ช้างเผือก.
สุวรี ศิวะแพทย์.(2549). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:โอเดียน สโตร์.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2547. จิตวิทยาและจิตวิทยาพัฒนาการ บุญศรี
ไพรัตน์, กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนรัชการพิมพ์ จำกัด.
เติมศักดิ์ คทวณิช.(2546). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วิไลวรรณ ศรีสงคราม และคณะ (2549). จิตวิทยาทั่วไป, กรุงเทพมหานคร: ทริปเปิ้ล กรุ๊ป.
ธนัญญา ธีระอกนิษฐ์, 2560. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่, Available at: http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/18fT1xFfvgCQT1I96Q25.pdf.
วชิรา บุตรวัยวุฒิ, 2555. ปลุกพลังใจสร้างไฟในตัวคุณ, นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.
ภาคิน ธราธรศิริ, 2554. สะกดจิต พิชิตจุดป่วย ครั้งที่ 1. รุจิเรข คชรัตน์ & จิราวรรณ นันทพงศ์, eds., กรุงเทพมหานคร: เนชั่นบุ๊คส์.
โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต, 2550. แบบประเมินความเครียด กรมสุขภาพจิต, เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต.
Heffernan, M., Quinn Griffin, M. T., McNulty, S. R., & Fitzpatrick, J. J. (2010). Self-compassion and emotional intelligence in nurses. International Journal of Nursing Practice, 16(4), 366–373. http://doi.org/10.1111/j.1440-172X.2010. 01853.x
Neff, K. D. (2003). The Development and Validation of a Scale to Measure Self-Compassion. Self and Identity, 2, 223–250. http://doi.org/10.1080/15298860390 209035
Neff, K. D. (2011a). Self-Compassion, Self-Esteem, and Well-Being. Social and Personality Psychology Compass, 1, 1–12.
Neff, K. D., & McGehee, P. (2010). Self-compassion and Psychological Resilience Among Adolescents and Young Adults. Self and Identity, 9(3), 225–240. http://doi.org/10.1080/15298860902979307
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ใช้แนวทางในการประเมิน ดังนี้    1.1 ผลการประเมินผู้สอนและรายวิชาของนักศึกษาผ่านระบบทะเบียนกลางของมหาวิทยาลัย    1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน    1.3 การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา    1.4 การสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาในคาบเรียนสุดท้าย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้    2.1  การสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอนรายวิชาจิตวิทยา    2.2  การประชุมเกี่ยวกับผลการจัดการเรียนการสอน และปัญหาที่พบในแต่ละภาคการศึกษา ร่วมกับหัวหน้ากลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และอาจารย์ประจำกลุ่มวิชาฯ    2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
   3.1  นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการสอน ผลการประชุมร่วมมาทบทวนและปรับปรุงการสอนในภาคการศึกษาถัดไป    3.2  ค้นคว้าหาวิธีสอน และสื่อการสอนที่หลากหลายจากแหล่งข้อมูลต่างๆ    3.3  เข้าร่วมประชุม เพื่อเรียนรู้เทคนิคการสอนและการวิจัยใหม่ๆ    3.4  การปรึกษาและขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอนรายวิชาจิตวิทยา    3.5  วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
   4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ    4.2 ประชุมผู้สอนรายวิชาจิตวิทยา    4.3 ประเมินผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม    4.4 แจ้งผลการประเมินให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ    4.5 ออกข้อสอบ โดยผ่านความเห็นชอบจากหัวหน้ากลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
   5.1 อ่านบันทึกการสอนรายคาบ แล้วนำไปปรับปรุงการสอนในคาบเรียนถัดไป    5.2 ประชุมผู้สอนรายวิชาจิตวิทยา เพื่อรับทราบปัญหา ข้อเสนอแนะ และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอนร่วมกัน    5.3 นำผลการประเมินการเรียนรู้เชิงพฤติกรรมไปปรับปรุงการสอนในภาคการศึกษาถัดไป    5.4 นำข้อเสนอแนะจากหัวหน้ากลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ไปปรับปรุงการสอนในภาคการศึกษาถัดไป    5.5 นำผลการประเมินผู้สอนและรายวิชาของนักศึกษาไปปรับปรุงการสอนในภาคการศึกษาถัดไป