การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ

Visual Effect

ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ด้านความรู้  1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ด้านทักษะทางปัญญา    2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์  3.สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ     2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ    1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านทักษะพิสัย /    1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อเสนอแนะ 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
พัฒนาการถ่ายทำและใช้โปรแกรมในการทำเทคนิคพิเศษเพิ่มขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการคิดวิเคราะห์การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ กระบวนการผลิต การทำแบบร่าง การเขียนบท หลักการสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ 2 มิติ 3 มิติ การทำภาพซ้อน การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหวในฉาก ทักษะในการสร้างภาพเสมือนจริงเพื่อประยุกต์มาใช้ในงานออกแบบสื่อสาร
 3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมง/สัปดาห์       (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     - สอดแทรกความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรมและจริยธรรมในการสร้างเทคนิคพิเศษ      - รู้จัดระเบียบวินัย การตรงต่อเวลาในการสร้างเทคนิคพิเศษ      - มีจรรยาบรรณในวิชาชีพการสร้างเทคนิคพิเศษไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
     - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน      - ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด      - ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายบุคคล      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
     - ทำการค้นคว้าลักษณะงานเทคนิคพิเศษ
     - ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายบุคคล      - ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
     - ทำการศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ในงานออกแบบกราฟิก
    - ทำงานบูรณาการสื่ออื่นกับการใช้เทคนิคพิเศษได้
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล      - ประเมินจากการนำเสนอ      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
- ทำการส่งงานให้ตรงต่อตรงต่อเวลา ทั้งงานชิ้นเดียวและงานกลุ่ม   
- ทำการปฏิบัติงานสร้างเทคนิคพิเศษได้ทั้งกระบวนการ ในลักษณะงานกลุ่ม
     - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน      - ประเมินจากผลงานกลุ่ม      - ประเมินจากการนำเสนอ      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    - ทำการปฏิบัติงานสร้างเทคนิคพิเศษให้เข้ากับสื่อต่างๆ ในเทคโนโลยีปัจจุบัน
    - ประเมินจากผลงานรายบุคคล
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อเสนอแนะ 
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
    - ทำงานตามคำสั่งได้ถูกต้องครบกระบวนการ 
    - ทำการปฏิบัติงานสร้างเทคนิคพิเศษได้จากลักษณะงานจำลอง
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล      - ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 2 3 2 3 3 1 1 2
1 BAACD133 การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1-15 5
2 2(1) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-15 5
3 2(1) 3(2) 3(3) 5(1) 6(1) 6(2) ผลงานรายบุคคล (การสร้างภาพเทคนิคพิเศษ) 2-15 20
4 2(1) 3(2) 3(3) 4(2) 4(3) 5(1) 6(1) 6(2) ผลงานกลุ่ม (การสร้างภาพเทคนิคพิเศษ) 2-15 40
5 5(1) การนำเสนอ 5,11,15 10
6 1(1) 2(1) 3(2) 3(3) 6(1) 6(2) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,17 20
คู่มือการใช้งาน After Effect CS6.ณัฐพงศ์ วณิชชัยกิจ . บริษัท ไอดีซี พรีเมีนร์ จำกัด นนทบุรี : เมษายน 2556
เวปไซต์เกี่ยวกับงานสร้างภาพเทคนิคพิเศษ
เวปไซต์เกี่ยวกับงานสร้างภาพเทคนิคพิเศษ
https://www.vfxvoice.com/global-vfx-state-of-the-industry-2019/
<http://www.sciweavers.org/external.php?u=http%3A%2F%2Fwww.doc.ic.ac.uk%2F%7Epmountne%2Fpublications%2FICRA%25202009.pdf&p=ieee>
https://www.educba.com/vfx-companies/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง