เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางเคมีสำหรับวิศวกร และเพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆได้ ด้วยการเรียนรู้แบบบูรณาการศาสตร์ เพื่อให้นักศึกษามีการเรียนรู้และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อสนองต่อกลยุทธ์ในการพัฒนานักศึกษาในการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความปรองดองในการเรียน และการทำงานเป็นกลุ่ม
เพื่อให้ตอบสนองต่อผลการเรียนรู้ของหลักสูตรและปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยมีการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองควบคู่ไปกับการเรียนในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนตลอดจนให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
ศึกษาเกี่ยวกับ พื้นฐานทางทฤษีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพิริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ อโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการในทุกวันจันทร์ 10.00-12.00 น.)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย ตรงต่อเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการแสดงออกความคิดเห็น และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางเคมีกับการดำรงชีวิตประจำวันและประยุกต์ใช้ต่อคุณภาพชีวิตได้
ให้ความรู้โดยการสอดแทรกเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ ใช้การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พร้อมทั้งให้ผู้เรียนตั้งคำถามหรือตอบคำถามโต้ตอบกับอาจารย์ผู้สอนหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน อภิปรายกลุ่มและนำเสนอผลงาน

ฝึกการทำงาน ทำแบบฝึกหัด และทำข้อสอบด้วยความสุจริต
1.3.1   ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงานตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา และพฤติกรรมการเข้าเรียน
1.3.2   ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมในห้องเรียน และโอกาสต่างๆนอกห้องเรียน
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.4   ประเมินจากการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีสำหรับวิศวกร โดยเฉพาะพื้นฐานทางทฤษีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพิริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ อโลหะและธาตุ   แทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย             จลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
บรรยาย  อภิปราย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนรู้และฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม     การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนเพื่อประมวลผลความรู้จากการรับฟังในภาคบรรยาย การแก้ปัญหาโจทย์การวิเคราะห์  กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าโจทย์ปัญหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการนำมาสรุปและนำเสนอด้วยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   การสอบย่อย การทำแบบฝึกหัดท้ายบท การสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผล ตามหลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์
3.1.2 นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.1.3 มีความใฝ่รู้ สามารถคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่หลากหลายได้อย่างถูกต้อง
3.2.1  การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning)
3.2.2  จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษาการวิเคราะห์ ทักษะการคิด มีการทบทวนบทเรียน และการทำแบบฝึกหัด
3.3.1  ประเมินจากการตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.3.2  การสอบย่อย การสอบข้อเขียนที่มีการแสดงถึงทักษะกระบวนการทางความคิดและการประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานนั้นมาตอบคำถามที่แปรผันได้
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพและมารยาททางสังคมที่ดีต่ออาจารย์และผู้เรียนด้วยกัน 
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กร
4.1.4   มีความรับผิดชอบทั้งการตรงต่อเวลาและงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและราย
4.2.1  กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มให้ชัดเจนและเข้าถึง
4.2.2  มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มในการปฏิบัติการเพื่อให้ให้ทำงานกับบุคคลที่หลากหลายมากขึ้น
4.2.3  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบในการทำกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2   ประเมินจากความรับผิดชอบจากการรายงานส่วนบุคคลและรายงานกลุ่ม ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3  ให้นักศึกษาประเมินความสัมพันธ์สมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
5.1.1   สามารถประยุกต์ความรู้ทางเคมี คณิตศาสตร์และสถิติ เพื่อการวิเคราะห์ประมวลผล การแก้ปัญหาและนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
5.1.2   สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น และเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ 
5.1.3   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มีการนำเทคนิคการสืบค้นเพื่อทำรายงานและหาแหล่งข้อมูลในทางที่แม่นยำและถูกต้อง
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการสุ่มหาเอกสารอ้างอิงจากการที่ผู้เรียนทำรายงานมาส่งได้
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 สอบย่อยและแบบฝึกหัดท้ายบท สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4,7,13,16 9 18 20% 25% 30%
2 1-5 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย รายงานที่มอบหมาย 1-18 15%
3 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-18 10%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา (การสอบกลางภาคและปลายภาค)
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   ประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา สรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
3.2   ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียน เพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ
3.2   ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะแก่กลุ่มนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการตรวจแบบฝึกหัด เพื่อปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย
5.3   ปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้มีความน่าสนใจ มีการเลือกใช้สื่อที่ทันสมัย
5.4   นำข้อคิดเห็นจากการประเมินโดยนักศึกษามาประมวล เพื่อจัดเนื้อหาความรู้ให้เหมาะสม ผลจากการประมวลจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป