โครงงานออกแบบอุตสาหกรรม

Industrial Design Project

     1.1 เข้าใจระเบียบขั้นตอนและวิธีการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
     1.2 เข้าใจการเขียนกรอบแนวคิดในการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
     1.3 มีทักษะในการค้นหาข้อมูลและเขียนโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน
     1.4 มีทักษะในการนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
     1.5 มีทักษะในการดำเนินงานตามขั้นตอนการทำงานโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
     1.6 ตระหนักและเห็นคุณค่าของการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม การค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และในสถานประกอบการ ภาคสนามที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล การเขียนโครงงาน การเขียนรายงาน และการนำเสนอ
ปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงงานรายบุคคลตามกระบวนการที่วางแผน เขียนเป็นรูปเล่ม นำเสนอผลการดำเนินโครงงาน และจัดแสดงผลงาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายนอกห้องเรียนทางสื่อสารเทคโนโลยี
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการนอกเวลาศึกษาปกติ(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโครงการอย่างมีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม อภิปรายกลุ่ม  วิเคราะห์งานและความสามารถในการทำงานเป็นทีมเพื่อการแก้ปัญหา

3. ฝึกความอดทนในการศึกษาให้ตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและสังคม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน การสังเกตและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์งานและความสามารถในการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม
1.3.4   การแก้ไขปัญหาด้วยคุณธรรม จริยธรรม  การเสียสละ  และความซื่อสัตย์สุจริต 
ความรู้และทักษะเกี่ยวกับขั้นตอน ระเบียบการทำโครงการ  การเก็บรวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูล   วางวัตถุประสงค์  และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้มา  ทั้งสามารถนำผลของการศึกษามาวิเคราะห์  เป็นรูปแบบความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การสังเกต  ถาม-ตอบ แบบฝึกตามบทเรียน  ฝึกการวิเคราะห์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาใช้วิธีการแก้ปัญหาและการทำโครงงาน โดยและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน
2.3.2   สรุปผลการนำเสนอการค้นคว้าข้อมูล 
2.3.3  การวิเคราะห์งานและการทำงานเป็นทีม
2.3.4  การทดสอบตามบทเรียน
2.3.5  การสังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาด้านคุณธรรม  จริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิด  การเขียนอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการศึกษาป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1   บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การสังเกต ถาม-ตอบ แบบฝึกตามบทเรียน  ฝึกการวิเคราะห์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาใช้วิธีการแก้ปัญหาและการทำโครงงาน โดยและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมมาใช้
  3.2.3 การเคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร และสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบตามบทเรียน
3.3.2   จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4  พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรมต่อตนเองและสังคม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
ถาม-ตอบ  สังเกต การทดสอบ   การฝึกปฏิบัติตามบทเรียนภายในห้องเรียนและภายในห้องเรียน
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
4.3.4  ประเมินจากการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหากระบวนการกลุ่ม
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
     5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
     5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
     5.3.3  ประเมินจากการใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและทักษะการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
6.1 สอบกลางภาค                            20                คะแนน
6.2 สอบปลายภาค                           20                คะแนน
6.3 จิตพิสัย                                   10                คะแนน
6.4 ผลงานระหว่างเรียน                     40                คะแนน
6.5 ทดสอบหลังเรียน                         10                คะแนน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.2, 3.3.1 ตรวจความก้าวหน้าครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ความก้าวหน้าครั้งที่ 2 / สอบป้องกัน 4, 8 15%, 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การปฏิบัติงานและผลงาน / ความก้าวหน้าครั้งที่ 3 โครงงาน (Project-Based Learning) การจัดนิทรรศการ ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 60%
3 1.3.1 การเข้าพบที่ปรึกษา การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
เกษม  สาหร่ายทิพย์. 2543. ระเบียบวิธีวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครสวรรค์: นิวเสรีนคร.
          เกษม   สาหร่ายทิพย์. 2540. สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย.พิมพ์ครั้งที่ 2. นครสวรรค์: นิวเสรีนคร.
ธีระชัย สุขสด. 2544. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
นิรัช  สุดสังข์. 2548. การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.

นวลน้อย บุญวงษ์. 2539. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม  ศรีสะอาด. 2535. การวิจัยทางการวัดและประเมินผล,มหาสารคาม:คณะศึกษาศาสตร์
                            มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, มหาสารคาม.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2531. การวิเคราะห์ความแปรปรวน:ประยุกต์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: เจริญผล.
บุญเรียง ขจรศิลป์. 2530. วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ:ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การพิมพ์.
บุญส่ง  นิลแก้ว. 2526. สถิติวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์.เชียงใหม่คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประคอง  กรรณสูต. 2522. สถิติประยุกต์สำหรับครู.พิมพ์ครั้งที่6.กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
เสรี วงษ์มณฑา. 2542. การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำโครงงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ