เทคโนโลยีงานเชื่อมและโลหะแผ่น

Welding and Sheet Metal Technology

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะปฏิบัติการเกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม  การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์  การเชื่อมก๊าซ  การเชื่อมมิก  การเชื่อมทิก  การเชื่อมใต้ฟลักซ์ 
 
 
การเชื่อมแบบความต้านทาน  การประสาน  และการเชื่อมพลาสติก  ตลอดจนเทคโนโลยีการเชื่อมสมัยใหม่ กลวิธีการเชื่อมตามกระบวนการต่างๆ  กรรมวิธีการตัดด้วยความร้อน  งาน
 
 
เขียนแบบแผ่นคลี่  และการขึ้นรูปโลหะแผ่นขั้นพื้นฐาน  งานพับ  งานต่อตะเข็บ  งานย้ำหมุด  งานดัดม้วน  งานเข้าขอบลวด  การบัดกรี 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะปฏิบัติการเกี่ยวกับกระบวนการเชื่อมแบบต่างๆ และโลหะแผ่น
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับกระบ                              วนการเชื่อม  การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์  การเ                                    ชื่อมแก๊ส  การเชื่อมมิก  การเชื่อมทิก  การเชื่อมใต้ฟลักซ์  การเชื่อมแ                                 บบความต้านทาน  การประสาน  และการเ                              ชื่อมพลาสติก  ตลอดจนเทคโนโลยีการเชื่อมสมั                        ยใหม่ กลวิธีการเชื่อมตามกระบวนการต่างๆ  กรรมวิธีการตัดด้วยความร้อน  งาน                                         เขียนแบบแผ่นคลี่  และการขึ้นรูปโลหะแผ่นขั้                                                   พื้นฐาน  งานพับ  งานต่อตะเข็บ  งา                                        นย้ำหมุด  งานดัดม้วน               งานเข้าขอบลวด  การบัดกรี 
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
              1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
                        ขององค์กรและสังคม
              1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง
                       ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน
                        คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
              1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิชาชีพวิศวกรรมต่อบุคคล
                       องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
              1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
                    รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 บรรยาย และสาธิต พร้อมกับสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมช่วงการเรียนการสอน
สอดแทรกเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
       ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม  การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์  การเชื่อมแก๊ส  การเชื่อมมิก  การเชื่อมทิก  การเชื่อมใต้ฟลักซ์  การเชื่อมแบบความต้านทาน  การประสาน  และการเชื่อมพลาสติก  ตลอดจนเทคโนโลยีการเชื่อมสมัยใหม่ กลวิธีการเชื่อมตามกระบวนการต่างๆ  กรรมวิธีการตัดด้วยความร้อน  งานเขียนแบบแผ่นคลี่  และการขึ้นรูปโลหะแผ่นขั้นพื้นฐาน  งานพับ  งานต่อตะเข็บ  งานย้ำหมุด  งานดัดม้วน  งานเข้าขอบลวด  การบัดกรี
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย สาธิต และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอเป็นกลุ่ม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินจากการปฏิบัติตามใบงาน 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของความรู้และเทคโนโลยี
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์
3.3.2   วัดผลจากการทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
             4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
                      ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อ
                      สังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
             4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับ
                      ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
             4.1.3 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล
                      และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี
       ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2 วิธีการสอน
             4.2.1 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น   
                          เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
             4.2.2 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3 วิธีการประเมินผล
             สังเกตพฤติกรรมการทำงาน ความรับผิดชอบในการทำงานและความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1  ส่งเสริมทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3  พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลจาก web site
5.1.4  พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก web site สื่อการสอน E- Learning และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2  มอบหมายงานที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1  ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
              5.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมายที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 บทที่ 1-5 สอบกลางภาค 8 25% 2 บทที่ 6-10 สอบปลายภาค 17 25% 3 บทที่ 1-10 1. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 2. ปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% 30% 5% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5% กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 บทที่ 1-5 สอบกลางภาค 8 25% 2 บทที่ 6-10 สอบปลายภาค 17 25% 3 บทที่ 1-10 1. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 2. ปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% 30% 5% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5% กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 บทที่ 1-5 สอบกลางภาค 8 25% 2 บทที่ 6-10 สอบปลายภาค 17 25% 3 บทที่ 1-10 1. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 2. ปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 บทที่ 1-5 สอบกลางภาค 8 25% 2 บทที่ 6-10 สอบปลายภาค 17 25% 3 บทที่ 1-10 1. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 2.
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
    1.  ประภาส  เกตุไทย.  การเชื่อมโลหะ  1.  กรุงเทพฯ  :  สกายบุ๊กส์,  2543.
    2.  ประภาส  เกตุไทย.  การเชื่อมโลหะ  2.  กรุงเทพฯ  :  สกายบุ๊กส์,  2546.
    3.  เกษมชัย  บุญเพ็ญ.  พื้นฐานโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ;สำนักพิมพ์  ประกอบเมไตร,2533.
    4.  สุชาติ  กิจพิทักษ์.  งานโลหะแผ่นเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ  :  สำนักพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง,  2540.
    5.  อำนาจ  ทองแสน.  งานเชื่อมและโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ  :  ซีเอ็ดยูเคชั่น,  2558.
 
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
    1.  ประภาส  เกตุไทย.  การเชื่อมโลหะ  1.  กรุงเทพฯ  :  สกายบุ๊กส์,  2543.
    2.  ประภาส  เกตุไทย.  การเชื่อมโลหะ  2.  กรุงเทพฯ  :  สกายบุ๊กส์,  2546.
    3.  เกษมชัย  บุญเพ็ญ.  พื้นฐานโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ;สำนักพิมพ์  ประกอบเมไตร,2533.
    4.  สุชาติ  กิจพิทักษ์.  งานโลหะแผ่นเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ  :  สำนักพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง,  2540.
    5.  อำนาจ  ทองแสน.  งานเชื่อมและโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ  :  ซีเอ็ดยูเคชั่น,  2558.
 
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
         เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ ,www.sciencedirect.com
 
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
            1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
            2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
            2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนด้วยการพัฒนาสื่อการสอนและสาธิตปฏิบัติการ
 
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ด้วยการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อที่ 4.