ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Innovative Industrial Product Design

รู้ เข้าใจและมีทักษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามกระบวนการ ขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบที่แตกต่างกัน 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการน าความรู้ ความ เข้าใจการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ น าไปประยุกต์ใช้กับการออกแบบ รายวิชาโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต 
ฝึกปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์  พัฒนาความคิด สร้างสรรค์  ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต้นแบบ โดยเน้นความคิดรวบ ยอด ตามกระบวนการและขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
นอกเวลาเรียน ภายในเวลาราชการ
.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 
1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม 
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning 
 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning 
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 
การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ 
สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 
วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน 
สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 
 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ 
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
ประเมินจากงานที่มอบหมาย
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป    ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่   เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมี สถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน   
 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
 ทำตามแบบและใบงาน
  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ุ6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAAID129 ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2554
นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539
ประเสริฐ  พิชยะสุนทร. ศิลปะและการออกแบบเบื้องตน้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ ดลต์  รัตนทัศนีย์.  
ขบวนการออกแบบทางศิลปะอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ:  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2528
ทวิส  เพ็งสา. รูปร่างและประโยชน์ใช้สอย.กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2528
สาคร  คันธโชติ  การออกแบบและพฒันาผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2544
ธีรกิติ นวรัตน  ณ อยุธยา, ผลิตภัณฑ์ใหม่:การตลาดและการพัฒนา.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2552 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์