สหกิจศึกษาในงานวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ

Co-operative Education in Agricultural and Biological Engineering

จุดมุ่งหมายของวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เป็นการฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้สิ่งต่อไปนี้ - การเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลทางปฏิบัติ - เข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการนำความรู้ด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการทํางาน - การพัฒนากระบวนการทำงานจากสภาพแวดล้อมจริง - การวางแผนการทำงานอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ - การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมจริง - เข้าใจชีวิตการทำงานและวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้การปรับตัวใหั เข้ากับผู้อื่น และสามารถ   ทํางานร่วมกันได้  แก้ไข
เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติการฝึกงานโดยนำความรู้จากสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีระบบ โดยมีวิศวกรที่ปรึกษาหรือผู้ชำนาญการของสถานประกอบการจริงทำหน้าที่ควบคุมดูแล
ปฏิบัติการฝึกงานโดยนำความรู้จากสาขาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ ไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการทางอย่างมีระบบ โดยมีวิศวกรที่ปรึกษาหรือผู้ชำนาญการของสถานประกอบการจริงทำหน้าที่ควบคุมดูแล  ตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องสามารถสรุปงานและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการนั้น ๆ อย่างเป็นรูปธรรม และมีการจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลงานร่วมกันจากทางสถานประกอบการและคณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงก่อนสำเร็จการศึกษา  แก้ไข
-
.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ                 ขององค์กรและสังคม  1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง     ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า     และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.3  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ     รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 
1.2.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ที่พึงปฏิบัติกอนการฝกงาน   1.2.2 กําหนดตารางเวลาฝกงาน บันทึกเวลาฝกงานกําหนดขอบเขตของงาน กําหนดวิธีการ     ประเมินผลงาน   1.2.3 มอบหมายงาน กําหนด ติดตามและควบคุมใหนักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาน     ประกอบการเชนเดียวกับพนักงานขององคกร   1.2.4 ประเมินผลการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง  
3.1 นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเองโดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่วัดคุณธรรม                        จริยธรรม  1.3.2 ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝกงาน จากการสังเกตพฤติกรรม     และการแสดงออกระหวางฝกงาน โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และมีหลักฐานแจงให     นักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง  1.3.3 ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุย สัมภาษณเพื่อนรวมงาน หัวหนางาน และผูเกี่ยวของ     พรอมมีรายงานผลการฝกงานประกอบ 
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหา     ของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์  2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง           2.1.3 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือ     ที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์  2.1.4 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้        แก้ไข
.2.1 สถานประกอบการที่ฝกงาน จัดพนักงานพี่เลี้ยงใหคําแนะนําเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนใน     การปฏิบัติงานตามหนาที่ บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการทํางานได     ดวยตนเอง  2.2.2 ใชเครื่องมืออุปกรณที่มีในหนวยงานเพื่อการปฏิบัติงานจริงภายใตการดูแลของพนักงาน     พี่เลี้ยง  2.2.3 จัดประชุม แบงงาน ติดตามงาน เปนระยะเวลาที่กําหนด หรือตามความเหมาะสม  แก้ไข
2.3.1 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยผูเกี่ยวของ เชน พนักงานพี่เลี้ยง  อาจารยนิเทศ  2.3.2 ประเมินผลจากการทํางานรวมกับผูอื่น  2.3.3 ประเมินผลจากการตรงตอเวลาในการสงงาน และความสมบูรณของงานที่ไดรับ     มอบหมาย 
3.1.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล    ประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   แก้ไข
3.1.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล    ประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   แก้ไข
 3.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามหัวขอที่กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่    เกี่ยวของและควรนํามาเปนพื้นฐานในการทํางาน 
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ    ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคม    ได้ในประเด็นที่เหมาะสม  4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับ    ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  4.1.3 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล    และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี    ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 สรางกิจกรรมสันทนาการละลายพฤติกรรม เพื่อใหเกิดความรูรัก สามัคคีพรอมทํางาน     เปนทีม  4.2.2 มอบหมายงานที่ตองทํางานรวมกันเปนทีม มีการแบงงานกันอยางชัดเจน  4.2.3 มอบหมายงานที่ตองไปพูดคุย สัมภาษณเพื่อใหไดขอมูลเพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ  4.2.4 ประชุมรวมกัน เพื่อมอบหมายงาน ติดตามงาน ประเมินผล 
4.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ  4.3.2 ประเมินจากขอมูลที่ไดรับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ  4.3.3 ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อน    รวมงาน หรือผูเกี่ยวของ  แก้ไข  แก้ไข
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขา                     วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 
5.2.1 มอบหมายงานที่ตองใชคณิตศาสตรทักษะการคํานวณ และใชสถิติเพื่อนําเสนอขอมูล  5.2.2 มอบหมายงานที่ตองมีการสื่อสารโดยใชภาษาทั้งไทยและตางประเทศ ทั้งการพูด เขียน     ในการประสานการทํางาน  5.2.3 มอบหมายงานที่ตองใชเทคโนโลยีในการแกปญหา หรือนําเสนอผลงาน   แก้ไข
5.3.1 ประเมินจากเอกสาร ที่นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลทางคณิตศาสตรโดยใชเทคโนโลยี     สารสนเทศเปนสื่อ  5.3.2 ประเมินจากเอกสารที่เขียน เชน E-Mail ที่ใชสื่อสารเพื่อการทํางาน  5.3.3 ประเมินจากผลการแกปญหาวาโดยเนนความถูกตองและเหมาะสม  แก้ไข 
มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพพื้นฐานได้เป็นอย่างดี   แก้ไข
6.2.1 มีการมอบหมายงาน หรือศึกษารูปแบบการใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในงาน                         ภายใต้การควบคุม ดูแลจากพนักงานพี่เลี้ยง    6.2.2 ฝึกมอบหมายให้ออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แล้วนำเสนอต่อผู้ควบคุม ก่อนการ                         แก้ไขปัญหาจริง หรือการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา  ารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทำงานทางวิศวกรรมได้  แก้ไข
6.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ  6.3.2 ประเมินจากผลงานการแก้ไขปัญหา การออกแบบ  6.3.3 ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อน       รวมงาน หรือผูเกี่ยวของ   แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใข้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG114 สหกิจศึกษาในงานวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 1.1 นักศึกษา - จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ - พนักงานพี่เลี้ยงบันทึกงานที่มอบหมาย และผลการฝึกฯในแบบฟอร์ม และสุ่มถามด้วยวาจา 1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม - อาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้ คำปรึกษา ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของ อาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการแก้ปัญหาของนักศึกษา 8, 17 50 - 50
คู่มือสหกิจศึกษา
จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
- อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ประมวลผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา จากผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากนักศึกษา จากพนักงานพี่เลี้ยง และจากอาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง รายงานต่ออาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร และประธานหลักสูตร หรือหัวหน้าภาควิชาเพื่อทราบ  - ประชุมหลักสูตร หรือภาควิชา ร่วมพิจารณานำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสำหรับการใช้รอบปีการศึกษาถัดไป นำแสดงไว้ในรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร  แก้ไข