การบริหารจัดการการผลิตพืชเพื่อธุรกิจ

Crop Production Management for Agribusiness

1. อธิบายกระบวนการผลิตพืชและมาตรฐานสินค้าที่ผลิตเพื่อธุรกิจ 2. อธิบายการจัดกลุ่มและรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต และการสร้างเครือข่ายผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้อง 3. อธิบายการผลิตพืชอาหารปลอดภัยและการประเมินผลผลิต 4. อธิบายการบริหารจัดการฟาร์มพืชไร่และพืชสวนเพื่อธุรกิจ 5. อธิบายการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว 6. อธิบายการวบรวมผลผลิตระบบการขนส่งสินค้าเกษตร และความรู้ทางธุรกิจ
นักศึกษาสามารถพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการการผลิตพืชเพื่อธุรกิจ เพื่อให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสถานการณ์ที่เหมาะสม
การจัดกลุ่มและรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต การสร้างเครือข่ายผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้อง เช่น สหกรณ์การเกษตร บริษัท เป็นต้น การบริหารจัดการฟาร์มโดยเฉพาะฟาร์มขนาดใหญ่ การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การวบรวมผลผลิตระบบการขนส่งสินค้าเกษตร และความรู้ทางธุรกิจ เช่น การจัดทำบัญชี การจัดการองค์กรธุรกิจ การวางแผนธุรกิจ ฯลฯ มีการศึกษานอกสถานที่ Farmer alliance for production, building network of production groups and related units, i.e., cooperatives, companies, etc., farm management, management for postharvest produces, compiling and transportation of produces, and knowledge on business, i.e., accounting, business plan, etc.   This course includes a study visit.
5 ชั่วโมง
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต ˜2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ˜3. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ™4. สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้ ™5. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าเรียน สม่ำเสมอตรงเวลา และมีความรับผิดชอบ  การทำงานกลุ่มฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำ และการเป็นสมาชิกกลุ่ม ให้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง 3. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม รวมทั้งสร้างความตระหนักในสิ่งแวดล้อมและส่วนรวม 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี เสียสละประโยชน์ให้ส่วนรวม
1. ประเมินจากการมีวินัยและความรับผิดชอบในการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่วนรวมและสร้างประโยชน์แก่สังคม 3. ไม่ทุจริตในการสอบและคัดลอกงานผู้อื่นมาเป็นของตน 4. ประเมินจากการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเหตุผลในการวินิจฉัยปัญห
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา 2. สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 3. สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 4. มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียน โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม โดยใช้มาตรการ Social Distancing สำหรับนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียนได้ ร่วมกับการเรียนออนไลน์ (Microsoft Team/Zoom) 2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) 3. ให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองจากหนังสือ ตำราและสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานสัมมนา พร้อมตอบข้อซักถามได้
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ หรือการนำเสนอรายงานในชั้นเรีย
1. มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 2. สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) โดยกรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) และให้นักศึกษาทำงานและอภิปรายกลุ่ม 3. การสอนแบบบรรยายในห้องเรียนโดยใช้มาตรการ Social Distancing สำหรับนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียนได้ ร่วมกับการเรียนออนไลน์ (Microsoft Team/Zoom) ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล 2. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
1. มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี š2. สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 3. สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ ˜4.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน แบบบรรยายเชิงปฏิบัติที่ให้นักศึกษามีการทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกให้ประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร โดยใช้มาตรการ Social Distancing สำหรับนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียนได้ ร่วมกับการเรียนออนไลน์ (Microsoft Team/Zoom) 2. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ในเนื้อหาวิชาการที่เรียนที่เกี่ยวข้อง หรือที่สนใจ เพื่อเสริมสร้างทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ˜2. สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ ˜3.  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) และการสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ  ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนทางวิชาการที่ค้นคว้าจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อในแผนการสอน 2. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง 3. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ  การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ  ที่ได้มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. การสังเกต 3. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้ 1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ 3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 MSCPT103 การบริหารจัดการการผลิตพืชเพื่อธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3 การสอบกลางภาค 9 30%
2 2.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 รายงานกลุ่ม/รายงานเดี่ยว 8, 15 และ 16 20%
3 1.1, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 1.1, 1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-17 10%
5 1.3, 4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-17 5%
6 4.1, 4.2, 4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-17 5%
1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2560. งานขับเคลื่อนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
สืบค้นใน http://www.harvardasia.co.th/wp-content/uploads/2018/01/03Doc141259.pdf (12 มิถุนายน 25632).
2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2560. ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี.
สืบค้นใน http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER2/DRAWER049/GENERAL/DATA0000/00000022.PDF
(12 มิถุนายน 25632).
3. วิริยะ คล้ายแดง. 2561. เกษตรแปลงใหญ่. สืบค้นใน https://cdc.parliament.go.th/ewtadmin/ ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=51649&filename=house2554 (12 มิถุนายน 25632).
4. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 -2564). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 81 น.
5. ฐิติรัตน์ มีมาก ฉัตยาพร เสมอใจ และคมกฤช ปิติฤกษ์. 2552. การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
6. นิพนธ์ พัวพงศกร บุญจิต ฐิตาภิวัฒนกุล สุเมธ องกิตติกุล ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ ชลัท ทัพประเสริฐ สุวรรณา ตุลยวศินพงศ์ นิภา            ศรีอนันต์ เศก เมธาสุรารักษ์ กัมพล ปั้นตะกั่ว และมาเรียม กรีมี. 2553. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาแนวทางการจัดการห่วงโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์ของสินค้าเกษตร ภายใต้โครงการการศึกษาวิจัยตลอดจนติดตามประเมินผลเพื่อเสนอแนวทางนโยบายการปรับโครงสร้างภาคการผลิต การค้า และการลงทุน. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. สืบค้นใน: https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2012/09/a148.pdf. (12 มิถุนายน 2562).
7. ธวัชชัย รัตน์ชเลส วิลาวัณย์ คำปวน และธีรนุช เจริญกิจ.  2556. มะม่วง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. ศูนย์นวัตกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, เชียงใหม่.  836 หน้า.
10. โรจน์ลักษณ์ ปรีชา   มนัสชัย จึงตระกูล คมสันติ์ ศรีคงเพ็ชร และวัชรพงศ์ รัชตเวชกุล. มปป.  ก้าวสู่บริบทใหม่ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลไทย. สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นใน: www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/NorthEastern/Doclib_Seminar60/41_Paper_SugarcaneIndust.pdf. (12 มิถุนายน 2562)
11. ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. พืชอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
12. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2561. สรุปสาระสาคัญโครงการตามนโยบายสาคัญ (Agenda) 15 โครงการ. สืบค้นใน: www.moac.go.th/dwl-files-401291791023. (12 มิถุนายน 2562).
13. กระทรวงอุตสาหกรรม. 2559. แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นใน: www.sme.go.th/upload/mod_download/เล่มแผนยุทธศาสตร์ อก.60-64.pdf.  (12 มิถุนายน 2562).
14. เชฐชุดา เชื้อสุวรรณ. 2561. แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63: อุตสาหกรรมน้ำตาล. สืบค้นใน: www.krungsri.com/bank/getmedia/52084452-70af-45c4-834d-1c34e49d5241/IO_Sugar_2018_TH.aspx. (12 มิถุนายน 2562).
15. ฐิติรัตน์ มีมาก ฉัตยาพร เสมอใจ และคมกฤช ปิติฤกษ์. 2552. การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
16. นิพนธ์ พัวพงศกร บุญจิต ฐิตาภิวัฒนกุล สุเมธ องกิตติกุล ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ ชลัท ทัพประเสริฐ สุวรรณา ตุลยวศินพงศ์ นิภา  ศรีอนันต์  เศก เมธาสุรารักษ์  กัมพล ปั้นตะกั่ว และ มาเรียม กรีมี. 2553. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาแนวทางการจัดการห่วงโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์ของสินค้าเกษตร ภายใต้โครงการการศึกษาวิจัยตลอดจนติดตามประเมินผลเพื่อเสนอแนวทางนโยบายการปรับโครงสร้างภาคการผลิต การค้า และการลงทุน. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. สืบค้นใน: https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2012/09/a148.pdf. (12 มิถุนายน 2562).
17. ธวัชชัย รัตน์ชเลส วิลาวัณย์ คำปวน และธีรนุช เจริญกิจ.  2556. มะม่วง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. ศูนย์นวัตกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, เชียงใหม่.  836 หน้า.
18. พิทยา สรวมศิริ. มปป. บทที่ 12 พืชอุตสาหกรรม (INDUSTRIAL CROPS). สืบค้นใน: https://mis.agri.cmu.ac.th%2Fcourse%2Fcourse_lecture_download.asp. (12 มิถุนายน 2562).
19. ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์.  2548.  การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร. 236 น.
20. โรจน์ลักษณ์ ปรีชา   มนัสชัย จึงตระกูล  คมสันติ์ ศรีคงเพ็ชร  และวัชรพงศ์ รัชตเวชกุล. มปป.  ก้าวสู่บริบทใหม่ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลไทย. สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นใน: www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/NorthEastern/Doclib_Seminar60/41_Paper_SugarcaneIndust.pdf. (12 มิถุนายน 2562)
21. ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. พืชอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
22. ส่วนเศรษฐกิจรายสาขา ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก. Industry Update: อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม . สืบค้นใน: www.gsb.or.th/getattachment/d3c44486-b58d-4df5-adcc-5254c9c69579/food_61_62.aspx. (12 มิถุนายน 2562).
23. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. 2552. รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมปี 2552 และแนวโน้มปี 2553. สรุปผลการศึกษา SMEs ประเทศไทย: บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม. สืบค้นใน: www.sme.go.th/upload/mod_download/Chapter7-20171024122055.pdf. (12 มิถุนายน 2562).
24. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. 2561. กิจกรรมจัดทําองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจงานพัฒนาองค์ความรู้สําหรับ SME (Knowledge Center) ปีงบประมาณ 2561: ห่วงโซ่อุปทานสินค้าการเกษตร: บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม. สืบค้นใน: http://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20181005092317.pdf. (12 มิถุนายน 2562)
25. เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ ยุพา อินทราเวช ทิวา แซมเพชร จิระนุช ชาญณรงค์กุล ประยูร แก้วปลอด ยอดธงไชย รอดแก้ว ศันสนีย์ นิติธรรมยง และรัตนาพร เลิศชู. 2559. AEK102 การพัฒนาองค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย. สืบค้นใน: www.k-station.doae.go.th/doc/AEK_102.pdf, (5 กรกฎาคม 2559).
26. Brown, C.A.  (2011). Understanding Food : Principles and Preparation (4th Ed.).  Boston, USA : Cengage.
Chen, M. and Blankenship, R.E.  (2011).  Expanding the solar spectrum used by photosynthesis. Trends in Plant Science, 16, 427-431John, P.J. and Jacob,  P.  2008. A Handbook on Postharvest Management of Fruits and Vegetables. Daya Publishing House, Delhi.  147 p.
27. Fellows, P. J.  2000.  Food Processing Technology Principles and Practice. 2nd Ed. CRC Press LLC, New York. 608 p.
28. Fellows, P.J. 2009.Food Processing Technology. 3rd edition. Cambridge: Woodhead Publishing.
29. Hounsome, N. and Hounsome, B.  2011.  Biochemistry of vegetables: major classes of primary (Carbohydrates, amino acids, fatty acids, vitamins, and organic Acids) and secondary metabolites (terpenoids, phenolics, alkaloids, and sulfur-containing compounds) in vegetables.  in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing. Blackwell Publishing Ltd, USA.
30. Minatel, I.O., Borges, C.V., Ferreira, H.A., Chen, C.O., & Lima, G.P.  2017.  Phenolic compounds: Functional properties, impact of processing and bioavailability.  IntechOpen.  Retrieved from https://www.intechopen.com/books/phenolic-compounds-biological-activity/phenolic-compounds-functional-properties-impact-of-processing-and-bioavailability, May 1, 2020.
31. Postharvest Management of Vegetables. n.d..  Postharvest fundamentals : Vegetable Physiology : Structure and Composition. Retrieved from https://www.postharvest.net.au/postharvest-fundamentals/vegetable-physiology/structure-and-composition/.
32. Radovich, T.J.K.  2011.  Biology, Biochemistry, Nutrition, Microbiology, and Genetics, pp. 3-22.  in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing.  USA: Blackwell Publishing Ltd.
33. Robert, C.W.  1994.  Minimally Processed Refrigerated Fruits and Vegetables.  Chapman & Hall One Penn Plaza, New York.  368 p.
34. Valero, D. and Serrano, M.  2010.  Postharvest Biology and Technology For Preserving Fruit Quality.  USA: CRC Press, Taylor & Francis Group.
เอกสารด้านธุรกิจการเกษตร การลงทุนด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร ใน website ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คำสำคัญ Agri -  business, Agricultural system และแนวโน้มธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรจากหน่วยงานและ Website ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป