ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์สาหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์

Scientific Information for Computer Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. เข้าใจโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
2. เข้าใจหลักการในการเกิดพันธะเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี
3. เข้าใจโครงสร้าง สมบัติ และประโยชน์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
4. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
 
ศึกษาและปฎิบัติการทดลอง นำข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์เบื้องต้นเกี่ยวกับ ฟิสิกส์อะตอม อะตอม โมเลกุลและไอออน พันธะเคมี เคมีอินทรีย์ สารชีวโมเลกุลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการคำนวณเบื้องต้น โดยการสอนจะเน้นหลักการที่สำคัญทางวิทยาศาตร์รวมทั้งการสร้างทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
Study and laboratory experiment course, Topics dealing introduction to scientific information involves atomic physics, atom molecule and ion, chemical bonding, organic chemistry, biomolecules and introduction to computer programing teaching focuses on the main principle of science including with computer skills solve science problem.
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง GE822 โทร0896189787
3.2 e-mail; namkane@hotmail.com ทุกวัน
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนาเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
˜3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้
ใช้ Power point
มีการนาเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงาน การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
สหกิจศึกษา/ฝึกงาน
โครงงาน
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1 3.2 3.3, 3.4, 3.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบระหว่างเรียน งานมอบหมาย 1-15 ทุกสัปดาห์ 4,6,8,10,16 14 10% 10% 50% 30%
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
1. กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
2. กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
3. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม 1. อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
4. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม 2. อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
5. นภดล ไชยคา. 2543. เคมี เล่ม 1. แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ.
6. นภดล ไชยคา. 2543. เคมี เล่ม 2. แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ.
7. ประเสริฐ ศรีไพโรจน์. 2545. เคมีพื้นฐานเล่ม 1. สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ.
8. วิโรจน์ ปิยวัชรพันธุ์. 2541. เคมีทั่วไป 1. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
9. ลัดดา มีศุข. 2545. เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
10. สุนันทา วิบูลย์จันทร์. 2545. เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์. เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,
กรุงเทพฯ
ไม่มี
บทความเกี่ยวกับเคมีในด้านต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากาหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
4.1 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนและเกรดก่อนส่งเกรด
4.2 จัดประชุมอาจารย์ผู้สอนก่อนออกข้อสอบ อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสำหรับรายวิชาที่แตกต่างกัน หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนของนักศึกษา และผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนมาสรุปผลการพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคการศึกษาต่อไป อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง