พื้นฐานการออกแบบ

Foundation of Design

                   1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและทำความเข้าใจหลักการออกแบบเบื้องต้น
             2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบการออกแบบผลิตภัณฑ์ทั้งภาพสองมิติและภาพสามมิติ
              3. สามารถนำหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบภาพสองมิติและสามมิติ มาใช้สร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ การออกแบบเบื้องต้น การจัดองค์ประกอบทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสองมิติและสามมิติ
ศึกษาและปฏิบัติหลักการออกแบบเบื้องต้น การจัดองค์ประกอบทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสองมิติและสามมิติ
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการนอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลา  5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๑.๑  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
            - มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
            - มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
            - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
            - เคารพกฎระเบียบและมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
            - ศึกษาและฝึกปฏิบัติในรายวิชาและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมควบคู่กันไป
- การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
          ๒.๑  ความรู้ที่ต้องได้รับ
            - มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องเรือนระบบอุตสาหกรรมประเภทถอดประกอบ
              ประเภทพับ ประเภทซ้อน
             - บรรยายและฝึกปฏิบัติ
             - จากการฝึกปฏิบัติในชั่วโมงเรียนและนอกเวลาเรียน
             - ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
              - พัฒนาความสามารถในการคิดและวิเคราะห์กระบวนการออกแบบอย่างมีระบบ
              - บรรยายและฝึกปฏิบัติ
              - จากการฝึกปฏิบัติในชั่วโมงเรียนและนอกเวลาเรียน
              - ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
              - การทำงานกลุ่มการแบ่งความรับผิดชอบ
              - บรรยายและฝึกปฏิบัติ
              - จากงานที่ได้รับมอบหมาย
             - การสืบค้นจากหนังสือ และทางอินเตอร์เน็ต
             - บรรยายและฝึกปฏิบัติ
งานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ด้านทักษะพิสัย ด้านคุณธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BAAID103 พื้นฐานการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 , 18 20 , 20
2 ฝึกปฎิบัติชั่วโมงเรียน ภาคการศึกษา 50
3 การเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงาน ตลอดภาคเรียน 10
     ชลูด นิ่มเสมอ (2531). องค์ประกอบศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช
    โชดก   เก่งเขตรกิจและคณะ . ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
              วัฒนาพานิช ,2548.
    ประเสริฐ  ศรีรัตนา . เทคนิคการสร้างภาพ .พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์,2530.
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิ รัตนสิน . องค์ประกอบศิลป์ .พิมพ์ครั้งที่2. สงขลา: ฝ่ายเทคโนโลยีทาง
              การศึกษาสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2542.
    พาสนา   ตัณฑลักษณ์ . หลักศิลปะและการออกแบบ.กรุงเทพฯ: เทพพิทักษ์การพิมพ์, 2522.
    ทวีเดช   จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี .กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์,2547.
     ชลูด นิ่มเสมอ (2531). องค์ประกอบศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช
    โชดก   เก่งเขตรกิจและคณะ . ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
              วัฒนาพานิช ,2548.
    ประเสริฐ  ศรีรัตนา . เทคนิคการสร้างภาพ .พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์,2530.
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิ รัตนสิน . องค์ประกอบศิลป์ .พิมพ์ครั้งที่2. สงขลา: ฝ่ายเทคโนโลยีทาง
              การศึกษาสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2542.
    พาสนา   ตัณฑลักษณ์ . หลักศิลปะและการออกแบบ.กรุงเทพฯ: เทพพิทักษ์การพิมพ์, 2522.
    ทวีเดช   จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี .กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์,2547.
    มิชาเอล ไลลัค (2552). แลนด์อาร์ต, กรุงเทพฯ : TASCHEN
      - นักศึกษานำผลงานตนเองมาเสนอแนวความคิดต่อเพื่อนในชั้นเรียน
     - การประเมินโดยผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน
    
     - การสังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอนจากผลงาน
     - ผลการเรียนของนักศึกษา
- การปรับปรุงการสอน การค้นคว้าหาข้อมูลในสถานประกอบการ
    - การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
    - กระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา ดังนี้
    - ออกแบบในชั้นเรียนในเวลาจำกัด
    - การประกวดผลงาน
    - พานักศึกษาไปศึกษาดูงานบริษัทและโรงงานเครื่องเรือน
    - ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี
    - เชิญผู้เชี่ยวชาญมาร่วมในการเรียนการสอน