เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์แก้วและเซรามิก

Glass and Ceramic Packaging Technology

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติ วิวัฒนาการ ประเภท สมบัติของแก้วและเซรามิกที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีของการผลิต กระบวนการออกแบบ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางหัตถกรรมและทางอุตสาหกรรม จากอดีตถึงปัจจุบันเพื่อให้เป็นนักเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนางานออกแบบบรรจุภัณฑ์จากแก้วและเซรามิกได้อย่างมีคุณภาพ และตรงกับความต้องการของผู้ใช้และผู้จำหน่ายบรรจุภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ ประวัติ วิวัฒนาการของบรรจุภัณฑ์แก้วและเซรามิก
      2.2 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ ประเภท สมบัติที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์แก้วและเซรามิก
      2.3 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ เทคโนโลยีของการผลิต กระบวนการออกแบบ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของบรรจุภัณฑ์แก้วและเซรามิก
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ประวัติ วิวัฒนาการ ประเภท สมบัติของแก้วและเซรามิกที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีของการผลิต กระบวนการออกแบบ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่านการสื่อสารเครือข่ายทางอินเตอร์เนท Line Group  และ Email  (ajsirinapa@gmail.com)
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
-  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  
-  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา
ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย 1.3.2 ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา        
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา        
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
- ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหาของการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้ - เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง - จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี - การปฏิบัติประเมินจากการทำต้นแบบบรรจุภัณฑ์ค้าปลีก และบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ       
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา
จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากแนวความคิด และผลการปฏิบัติงาน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม - สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร - สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม
- ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย
- การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร - จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน - จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
- ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ - ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง - ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ - มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง - มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ให้นักศึกษานำทักษะองค์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ประเมินผลงานการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTEPP136 เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์แก้วและเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 15% 15%
2 1.3,2.1, 2.2,3.1, 3.2,4.3,5.1,5.2 การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การปฏิบัติงานที่มอบหมาย 1,2,3,4,5,6 7,8,10,11,12 13,14,15,16,17 20% 20% 10%
3 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 4.1-4.6,5.3-5.4 การปฏิบัติงานโครงงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. คำนาย อภิปรัชญาสกุล. ระบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2553. สำนักพิมพ์โฟกัสมีเดีย     แอนด์ พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.
2. ชนัสสา นันทิวัชรินทร์. การพิมพ์และการตกแต่งบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2556. สำนักพิมพ์    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
3. ชัยรัตน์ อัศวางกูร. ออกแบบให้โดนใจ.  คู่มือการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้ประกอบการและนักออกแบบ      พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548. สำนักพัฒนา อุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.
4. ดวงฤทัย ธำรงโชติ. เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์,    กรุงเทพฯ.
5. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท และก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา. การบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2537.สำนักพิมพ์วัง     อักษร, กรุงเทพฯ.
6. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การจัดจำหน่าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2537. สำนักพิมพ์วังอักษร, กรุงเทพฯ.
7. ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา. การนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ.2556. ครองช่าง           พริ้นติ้ง, เชียงใหม่.
8. ธีระชัย สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2544. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,       กรุงเทพฯ. 
9. นภวรรณ คณานุรักษ์. Power of Packaging. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2547. บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
10. นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2548. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ
11.      ประกรณ์ วิไล. การออกแบบเซรามิก1. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2547. สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิก คณะครุ  ศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ.
12.      ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2531. สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์,      กรุงเทพฯ.
13.      ปุ่น คงเกียรติเจริญ, บรรจุภัณฑ์อาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. บริษัท โรงพิมพ์หยี่เฮง, กรุงเทพฯ.
14.      ปุ่น คงเกียรติเจริญ, รวมบทความ บรรจุภัณฑ์ (พ.ศ.2544-2547). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2547. บริษัทแพค     เมทส์, กรุงเทพฯ.
15.  มยุรี ภาคลำเจียก. คู่มือบรรจุภัณฑ์มาตรฐานสำหรับผู้ประกอบการเครื่องสำอาง SME. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.     2560. บริษัทจินดาสาสน์การพิมพ์, กรุงเทพฯ.
16.  มยุรี ภาคลำเจียก. บรรจุภัณฑ์อาหารสำหรับ SME. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2562. บริษัทจินดาสาสน์การพิมพ์,กรุงเทพฯ.
17.  แววบุญ แย้ม. การออกแบบขวด. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2558. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
18.  ศศิธร ทองเปรมจิตต์. การสร้างอัตลักษณ์กับงานออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2561. โชตนาพริ้นท์, เชียงใหม่.
19.   สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด บางกอกบล็อก, กรุงเทพฯ.
20.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพฯ.
21. สมพงษ์ เฟื่องอารมย์. บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. จามจุรีโปรดักท์, กรุงเทพฯสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
22. สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. เครื่องปั้นดินเผา พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2548. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
23. สุมาลี ทองรุ่งโรจน์. ออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555. บอสส์การพิมพ์, กรุงเทพฯ.
24. สุรพงษ์ พรเฉลิมพงศ์ และสุณี ภู่สีม่วง. เทคโนโลยีการแปรรูปบรรจุภัณฑ์แก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558.
25. สุวัฒน์ ตั่งโพธิสุวรรณ และสุณี ภู่สีม่วง. บรรจุภัณฑ์แก้ว. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2556. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
26. อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2549. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ.
สุรพงษ์ พรเฉลิมพงศ์ และสุณี ภู่สีม่วง. เทคโนโลยีการแปรรูปบรรจุภัณฑ์แก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558.
สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. เครื่องปั้นดินเผา พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2548. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
แววบุญ แย้ม. การออกแบบขวด. พิมพ์ครั้งที่1 พ.ศ.2558. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
ปุ่น คงเกียรติเจริญ, บรรจุภัณฑ์อาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. บริษัท โรงพิมพ์หยี่เฮง, กรุงเทพฯ.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          - ข้อเสนอแนะผ่านเวปบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
         LINE group และ email : ajsirinapa@gmail.com 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
          - ผลการสอบ
          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ