การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน

Pre Professional Experience

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติการเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา ฝึกปฏิบ้ติการวางแผนการศึกษาของผู้เรียนโดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและการนำเสนอผลการศึกษา การมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งการนำหลักสูตรไปใช้ ฝึกการจัดทำแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติการดำเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัคการเรียนรู้โคยเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานสึกษา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกปฏิบ้ติการวางแผนการศึกษาของผู้เรียนโดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและการนำเสนอผลการศึกษา การมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งการนำหลักสูตรไปใช้ ฝึกการจัดทำแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติการดำเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัคการเรียนรู้โคยเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานสึกษา เพื่อนำมาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำเอาไปประกอบการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา ฝึกปฏิบ้ติการวางแผนการศึกษาของผู้เรียนโดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและการนำเสนอผลการศึกษา การมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งการนำหลักสูตรไปใช้ ฝึกการจัดทำแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติการดำเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัคการเรียนรู้โคยเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานสึกษา
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
-  อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถคำนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโขชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ถะรายวิชา ต้อง ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้
1 มีจิตสำนึกสาธารณะเละตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคุม และสิ่งเเวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณก่และศักดิ์รีบองความเป็นมนุษย์
นอกจากนั้น ยังมีการส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกบามีการหัฒนาจริธรรมและจรรยาวิชาชีพผ่านทางการเรียนการสอนของรายวิชในหลักสูตร ซึ่งอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดกรกเนื้อหาที่เกี่ขวช้องกับจรรยาวิชาชีพ และสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้นคุณธรรม จริยรรรมทุกภาคการศึกษาด้วยการสังเกตพฤดิกรรมระหว่างการทำกิจกรรม และมีการกำหนคคะแนนในเรื่องกุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะเนนจิตพิสัยในชั้นเรียน นักศึษาที่ตะเนนดวามประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจูบการศึกบา  
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โคยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดนการเต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดเทรกเละส่งเสริมค้นคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะสนับสนุนให้นักศึกษาเข้ร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝั่งจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ขกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกดฤดิกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัคิตนในคนต่างๆ ได้เก่
1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้ชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายเละการร่วมกิจกรรม
2 ประเมินจากการมีวินัยเละพร้อมเพรียงของนักสึกษาในการเข้ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้ที่ที่ไร้บมอบหมาย
5 ประเมินจากคุณกาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษาซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักะอันเป็นสิ่งที่นักศึกษต้องรู้และเข้าใจ ดังนั้นมาตรฐาน ความรู้ต้องครอบคลุมดังนี้
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งค้นทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตามความก้วหน้ำทางวิชาการเละเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกยา
3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปเบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยน้นผู้รียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรีชนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning) โดยมุ่งนั้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประนุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโล จัคให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกพาคูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศบเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
 
การทดสอบผลการรียนรู้ตามมาตรฐานนี้สามารถทำได้โคยการใช้ข้อสอบวัดผลในรายวิชาที่เรียนทั้งการทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติตลอคระยะเวลาของหลักสูตร โคยใช้การวัดผล ดังนี้
1 การทดสอบย่อย
2 การสอบกลางภาครียนและปลายภาคเรียน
3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4 ประเมินจากโครงงานที่นำเสนอ
5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6 ประเมินจากรายวิชากาปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งพาตนเองได้เมื่อจบการศึกษาดังนั้นนักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรมและความรู้ทางคำนวิชาชีพ โดขกระบวนการเรียนการสอนต้องเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เช้ใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวดิคเละวิธีการแก้ปัญหาวยตนเอง โดยมีการสอนทั้งภากทฤฎีและปฏิบัติควบคู่กัน นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
1 มีทักษะการปฏิบัคิจากการประยุกต์กวามรู้ทั้งทางค้นวิชาการ และวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดเละใช้อย่างเป็นระบบ  
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโคขเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Leaing) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานถารณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาของเต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ศึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้องเละนั้นให้นักศึกพาลมือปฏิบัติจริง
การวัดและประเมินใช้แนวข้อสอบที่ให้นักศึกษาได้อธิบาขเนวคิดและวิธีการเก้ปัญหาโคขการประชุกต์ความรู้ที่รียนมา หรือให้นักศึกษาเลือกใช้วิชาชีพที่หมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนดให้ ตามสภาพจริงจากผลงาน โครงงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อเก้ใขปัญหาในบริบทค่างๆ
3 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องทำงานร่วมกับคนที่มาจากหลายที่ มีความแตกต่างกันทางแนวติด วัฒนธรรม สถาบันการศึกษาและเชื้อชาติ ซึ่งอาจเป็นผู้บังคับบัญชา หรือคนที่จะมาอยู่ใต้บังกับบัญชา กวามสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่าง ๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งนักศึกษาจึงต้องได้รับการฝึกประสการณ์พื่อเรียนรู้การปรับตัวให้เช้กับบุดดลและกลุ่มบุดกลต่างๆดังนั้นผู้สอนต้องแนะนำการวางตัว มารยาทในการเข้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้
1 มีมนุษสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ดำเนินการสอนโคยการกำหนคกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือกั้นคว้หาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิคชอบ ดังนี้
1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองก์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4 มีมนุษสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5 มีภาวะผู้นำและผู้ตาม
6 มีความรู้กี่ขวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม  
การวัดเละประเมินผลทำได้โคยการสังเกตจากหฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการฝึกประสบการณ์ต่างๆ เช่น
1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลขี่สารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ นักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลขีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัศิงาน การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง ดังนั้น นักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับการวิคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลซีไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรมและความรู้เกี่ยวกับสาชาวิชาชีพ ด้วยเหตุนี้ ผู้สอนต้องใช้เทคโนโลขี่ในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกด์ใช้เทคโนโลยีเพื่อเก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3 สามารถใช้ภาษาไทยเละภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรมที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาขัอมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศดังนี้
1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
3 ใช้เทคโนโลยีสารสนทศป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
4 ใช้เทคโนโลขีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนีขมปฏิบัติของสังคมเต่ถะกลุ่ม
 
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลขีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคั้นกว้หาข้อมูล
3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลขี่สารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงเค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในนทักษะทางการปฏิบั การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้วหนในตำเหน่งหน้ำที่ของบัณฑิตทางค้นกรุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังนั้นในการเรีขนการสอนจึงต้องให้กวามสำคัญเนไปที่การสร้งทักษะการปฏิบัติงานทางค้นครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังข้อต่อไปนี้
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้นเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประนุกด์วิธีการสอนใดอย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้รียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โคยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ค้นทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
3 สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
4 จัดนิทรรศการแสคงผลงานของนักศึกษา
5 สนับสนุนการทำโครงงาน
6 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพกรู  
1 มีการประมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
4 มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
5 มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 30022405 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1, 5.1, 6.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 30% 30%
2 1.1, 2.1, 4.1, 5.1,6.1 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1,6.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.  สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์, 2527, เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชีพ, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
2.  กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, 2536, เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
3.  สุรพันธ์ ตันศรีวงษ์, 2538, วิธีการสอน, กรุงเทพฯ: บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด.
4.  ยุทธพงษ์ ไกยวรรณ, 2541, เทคนิคและวิธีการสอน, กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
5.  ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, 2542, วิธีสอนวิชาทฤษฏี, กรุงเทพฯ:  บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
6. วัลลภ จันทร์ตระกูล, 2543, สื่อการเรียนการสอน, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
7.  กิดานันท์ มลิทอง, 2544, สื่อการสอนและฝึกอบรมจากสื่อพื้นฐานถึงสื่อดิจิตอล, กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์.
8.  อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2553, หลักการสอน, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 276 หน้า.
9.  คำรณ ศิระธนกุล, 2556, การพัฒนาวัสดุช่วยสอน, กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4