ประวัติศาสตร์ศิลปะและบรรจุภัณฑ์

History of Art and Packaging

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและบรรจุภัณฑ์ ประวัติศาสตร์การออกแบบยุคต้น การออกแบบยุคกลาง การออกแบบยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม เอกลักษณ์ของศิลปะและบรรจุภัณฑ์แต่ละยุคสมัย รวมถึงอิทธิพลทางศิลปะ สไตล์ในงานออกแบบ งานออกแบบยุคปฏิรูปงานศิลปะและงานฝีมือ
2.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและบรรจุภัณฑ์
2.2 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การออกแบบยุคต้น การออกแบบยุคกลาง การออกแบบยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม
2.3 เพื่อเข้าใจเอกลักษณ์ของศิลปะและบรรจุภัณฑ์แต่ละยุคสมัย รวมถึงอิทธิพลทางศิลปะ สไตล์ในงานออกแบบ งานออกแบบยุคปฏิรูปงานศิลปะและงานฝีมือ
ประวัติศาสตร์ศิลปะและบรรจุภัณฑ์ ประวัติศาสตร์การออกแบบยุคต้น การออกแบบยุคกลาง การออกแบบยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม เอกลักษณ์ของศิลปะและบรรจุภัณฑ์แต่ละยุคสมัย รวมถึงอิทธิพลทางศิลปะ สไตล์ในงานออกแบบ งานออกแบบยุคปฏิรูปงานศิลปะและงานฝีมือ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง (สัปดาห์ละ 4ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาติดต่อผ่านช่องทางไลน์แอปพลิเคชั่น
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น  
- มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
 
- การสอนออนไลน์ให้ผู้เรียน เรียนตามระยะเวลาของคาบเรียนที่กำหนดตลอดทั้งคาบ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น การเข้าเรียนตรงเวลา สอดแทรกในเนื้อหาวิชาเรียนอย่างสม่ำเสมอ 
- มีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- ประเมินจากการเรียน
- ประเมินพฤติกรรมโดยนักศึกษา อาจารย์ผู้สอน
- ประเมินจากความรับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในการทำงานร่วมกัน
- การเข้าชั้นเรียน
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
- มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- การบรรยายที่ผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอด
- การมอบหมายงาน ศึกษาค้นคว้า และการนำเสนอผลงานจากการค้นคว้าโดยการอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินผลการเรียนรู้ โดยการสอบ นำเสนอผลงานจากการศึกษาค้นคว้าการใช้สื่อ และการประเมินความรู้จากาการเข้าร่วมกิจกรรม
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน4.3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
- มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- การบรรยาย / อภิปราย/ซักถาม
- วิเคราะห์กรณีศึกษา แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กรณีศึกษา
- เน้นการมีส่วนร่วมและการวิพากษ์อย่างสร้างสรรค์
- ประเมินผลจากการนำเสนองาน
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม การรวมกลุ่มและการแบ่งการทำงานแบบมีส่วน
- มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง
- ให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มหรือโครงงานในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
- ประเมินกระบวนการ ทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยี ที่เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและคอยพิวเตอร์
- ประเมินผลการนำเสนอผลงานจากการค้นคว้าผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
- ให้นักศึกษาปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นรายบุคคล/กลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยี ที่เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAAPD101 ประวัติศาสตร์ศิลปะและบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัยและทักษะพิสัย พุทธพิสัย ความเข้าใจเนื้อหา การทำแบบทดสอบหลังเรียน การตรวจเล่มรวมผลงาน, ดูเนื้อหา, สเก๊ตภาพ ทุกสัปดาห์ 25%
2 ทักษะพิสัยการเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำรายงานศิลปะการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สัปดาห์ที่ 10 10%
3 ทักษะความเข้าใจ การนำเสนอด้วยสื่อต่าง ๆ การนำเสนองานกลุ่ม วิเคราะห์สรุปแนวคิดของผลงาน ของแต่ละสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 15 10%
4 ความเข้าใจและการวิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบ สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 20%
5 ความเข้าใจและการวิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบ สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 20%
6 จิตพิสัย ความตั้งใจ ความตรงต่อเวลา การเข้าเรียน การแต่งกาย การมีส่วนร่วมโต้ตอบคำถามในชั้นเรียน เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 15%
อรสา จิรภิญโญ, 2538. วิวัฒนาการบรรจุภัณฑ์ ISBN 974-621-367-9
วิรุณ ตั้งเจริญ, 2545. ประวัติศาสตร์ศิลป์และการออกแบบ—กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สันติศิริ.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          - ผลการสอบ
          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ