การปฏิบัติงานของช่างเครื่องกลในโรงงาน

Millwright

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจหลักการพื้นฐานปฏิบัติการดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล และเครื่องต้นกาลังที่มีใช้อยู่โรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องกล โครงงานในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล เป็นงานด้านการศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ปัญหาเพื่อหาข้อสรุปกับงานที่ต้องการผลสำเร็จหรือผลผลิต เป็นงานที่ต้องการมีการออกแบบหรือใช้ความรู้ทางวิศวกรรมเครื่องกลมาประยุกต์ใช้ปฏิบัติงาน เน้นการปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ
ไม่มี
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งานและดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล และเครื่องต้นกำลังที่มีใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องกล วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น เช่น การต่อวงจรไฟฟ้ามอเตอร์ 1 เฟส และ 3 เฟส เป็นต้นการปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย โดยเน้นย้ำถึงความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข ข้อขัด แย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม  1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ในระหว่างบรรยายหลักการและทฤษฎี มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม มีการตรวจสอบเวลาการเข้าเรียน กำหนดให้เข้าเรียนตรงต่อเวลา  1.2.2 ให้งานทำเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ
1.3.1ประเมินจากการเวลาการเข้าเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลาที่มอบหมาย  1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการลงปฏิบัติงานต่าง ๆ  1.3.3ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการ สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี  2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม  2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น  2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายหลักการและทฤษฎี เพื่อนำใช้คำนวณในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งยกตัวอย่างโครงงานต่างๆ  2.2.2 มอบหมายงาน เพื่อจัดทำรายงาน
2.3.1 นำเสนอผลงาน และซักถามและตอบคำถาม ที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีที่นำมาใช้งาน  2.3.2 รายงานหลักจากการทดลอง
3.1.1 สามารถรวบรวม  ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 บรรยายหลักการและทฤษฎี พร้อมทั้งยกตัวอย่างการคำนวณและการประยุกต์ใช้จริง  3.2.2 มอบหมายงาน เพื่อตรวจสอบกระบวนการคิด-วิเคราะห์
3.3.1 ผลการดำเนินงานในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย โดยเน้นปริมาณงานและคุณภาพ  3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  4.1.2 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม   สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ    สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ  4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน  และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคล และหมู่คณะ เพื่อให้ได้ปริมาณงานที่เท่าเทียมกัน และสามารถทำงานเป็นหมู่คณะได้  4.2.2 การถาม-ตอบในระหว่างเรียน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาศแสดงความคิดเห็น
4.3.1 ประเมินจากรายงานและพฤติกรรมการทำงานในระหว่างเรียน  4.3.2 ประเมินจากรายงานที่มีการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์  5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์  5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 อธิบายการใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการทดลองทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการทดลอง  5.2.2 บรรยายหลักการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยงข้องกับการแก้ปัญหาที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณ เช่น การคำนวณสมรรถนะของปั้มด้วยโปรแกรมเอกเซล  5.2.3 มอบหมายงานที่มีการใช้สถิติ เพราะข้อมูลทางสถิติจะช่วยตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดลอง
5.3.1 คุณภาพและความถูกต้องของรายงาน  5.3.2 ผลการปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี 
อธิบายการใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการทดลองทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล และอาคารของสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
6.2.1 ประเมินจากการทดลองใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน  6.2.2 ประเมินจากพฤติกรรมการทางานเป็นทีม 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ 1.คุณธรรม จริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 1 2 3 4 5
1 ENGME116 การปฏิบัติงานของช่างเครื่องกลในโรงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. เข้าใจและสามารถเรียนวิชานี้ได้ 2. เข้าใจและสามารถใช้เครื่องพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลได้ดี ผลการปฏิบัติงานจากการนำเสนอในแต่ละสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ 30%
2 1. รายงานที่มีการนำเสนอผลการปฎิบัติในแต่ละสัปดาห์ 2.ผลการปฏิบัติในแต่ละสัปดาห์ 1. วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า และรายงาน 2.การทำงานกลุ่มและผลงาน 3.การส่งงานตามที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 60%
3 1. การเข้าเรียนทุกครั้ง และต่อตรงเวลา 2. การส่วนร่วมในหารเรียนรู้ในวิชานี้ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
1.เอกสารการปฎิบัติงานของเคริ่องกลในโรงงาน
2. เอกสารต่างๆ ที่สามารถค้นคว้าได้จากห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต
ไม่มี
เอกสารการปฎิบัติงานของเคริ่องกลในโรงงานที่แจกให้ในสัปดาห์แรกของการเรียน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอน
3.แบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  2.1 ประเมินจากแบบประเมินรายวิชา และแบบประเมินผู้ สอน  2.2 ประเมินจากผลการสอบและการเรียนรู้ของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ