เทคนิคก่อสร้าง 1
Construction Technique 1
1. เข้าใจสภาพดินที่เหมาะสมในการรับน้ำหนักสิ่งก่อสร้าง
2. เข้าใจฐานรากแบบต่างๆ
3. เข้าใจโครงสร้างแบบต่างๆ
4. เข้าใจการก่อสร้างฐานราก เสา คาน พื้น บันได ผนัง หลังคา พื้นช่วงกว้างระบบต่างๆ
5. เข้าใจระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป การก่อสร้างด้านคอนกรีตอัดแรง และการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดิน
2. เข้าใจฐานรากแบบต่างๆ
3. เข้าใจโครงสร้างแบบต่างๆ
4. เข้าใจการก่อสร้างฐานราก เสา คาน พื้น บันได ผนัง หลังคา พื้นช่วงกว้างระบบต่างๆ
5. เข้าใจระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป การก่อสร้างด้านคอนกรีตอัดแรง และการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสภาพดินที่เหมาะสมในการรับน้ำหนักสิ่งก่อสร้าง ฐานรากและโครงสร้างแบบต่างๆ คุณสมบัติของการคิดประยุกต์ใช้เพื่อนำไปใช้ในต่อไป
การศึกษาเกี่ยวกับสภาพดินที่เหมาะสมในการรับน้ำหนักสิ่งก่อสร้าง ฐานรากแบบต่างๆ โครงสร้างแบบต่างๆ โครงสร้างไม้ เหล็ก และคอนกรีตเสริมเหล็ก การก่อสร้างฐานรากเสา คาน พื้น บันได ผนัง หลังคา พื้นช่วงกว้าง ระบบต่างๆ ระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป การก่อสร้างด้านคอนกรีตอัดแรง การก่อสร้างโครงสร้างใต้ดิน
อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะราย ที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
1.2.2 ปฏิบัติการคํานวณหาแรงต่าง ๆ ที่กําหนด
1.2.3 กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน
1.3.3 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.4 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน
1.3.5 ประเมินผลจากความรับผิดชอบในการมอบหมายงาน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิบาย ยกตัวอย่างประกอบการสอน 2.2.2 มอบหมายงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการนําเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล รายงาน 2.3.3 ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการ
3.1.1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นความเข้าใจ ให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล 3.2.2 อภิบายให้เห็นความเป็นจริงเกี่ยวกับงานทางด้านโครงสร้าง 3.2.3 มอบหมายงานให้ทําและค้นคว้า
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ เชิงเหตุผล 3.3.2 สังเกตพฤติกรรมในการทํางาน และการแก้ปัญหาในการทํางาน
4.1.1 สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 การมอบให้นักศึกษาทํารายงานที่ให้วิเคราะห์และการแก้ปัญหา และการนําเสนอ ผลงาน 4.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการนําเสนอด้วยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสม 4.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการนําเสนอผลงาน
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูล ที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 ให้นักศึกษานําเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนําเสนอ 5.3.2 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2. | 3. | 4. | 1 | 2. | 3. | 4. | 5. | 1 | 2. | 3. | 1 | 2. | 3. | 4. | 1 | 2. | 3. | 1 | 2. | 3. | 4. | 5. |
1 | TEDCV019 | เทคนิคก่อสร้าง 1 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | การเข้าเรียน ความตรงเวลา ฝึกคุณธรรม บรรยายพร้อม ยกตัวอย่าง | ตลอดภาค การศึกษา | 10% |
2 | ด้านความรู้ | -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค | 9 17 | 30% 30% |
3 | ด้านทักษะทาง ปัญญา | -ให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล อธิบายให้เห็น ความเป็นจริงเกี่ยวกับงานทางด้านโครงสร้าง -วิเคราะห์และการแก้ปัญหา | ตลอดภาค การศึกษา | 15% |
4 | ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ | -ทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม -ทํางานที่ได้รับมอบหมายและมีการนําเสนอ | ตลอดภาค การศึกษา | 10% |
5 | ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสารและการ ใชhเทคโนโลยี สารสนเทศ | -วิเคราะห์กรณีศึกษา นําเสนอด้วยการนําเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสม -แสดงผลลัพธ์ให้ปรากฏและน่าเชื่อถือ แสดงแหล่งที่มา | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
เทคนิคก่อสร้าง scg ผศ. วิทวัส สิทธิกูล กรุงเทพมหานคร
ก่อสร้างอาคารบรรยายพร้อมภาพ กิติพงศ์ พลจันทร์ สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด
ก่อสร้างอาคารบรรยายพร้อมภาพ กิติพงศ์ พลจันทร์ สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด
เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคนิคก่อสร้าง 1
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่สาขาฯ ได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนร
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย