แนวคิดโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม

Structural Concepts in Architecture

1.1 รู้เกี่ยวกับชนิดของโครงสร้าง 1.2 เข้าใจแรงและการคำนวณหาแรงปฏิกิริยาโดยหลักความสมดล 1.3 เข้าใจการเสียหาย การเสื่อมตัว และการวิบัติของโครงสร้าง 1.4 เข้าใจที่มาและแนวคิดและความเป็นไปได้ในการออกแบบโครงสร้างแบบต่างๆ 1.5 เข้าใจการกระจายถ่ายเทน้ำหนักของโครงสร้างแบบต่างๆ 1.6 เห็นความสำคัญของวิชาแนวคิดโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการหาแรงที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง เข้าใจความเสียหายการเสื่อมตัว และการวิบัติของโครงสร้าง มีคุณสมบัติของการคิดเพื่อนำไปใช้ในการออกแบบทางด้านงานสถาปัตยกรรม
ศึกษาระบบพฤติกรรมของโครงสร้าง กลวิธีในการรับและการกระจายถ่ายเทน้ำหนัก ทฤษฎีของแรงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโครงสร้างอาคาร ความสมดุลและสัมพันธ์กับแรงที่ กระทำบนสภาพที่ตั้งและการใช้สอยที่แตกต่างกัน สาเหตุแห่งการเสียหาย การเสื่อม ตัว และการวิบัติของโครงสร้าง ที่มาและแนวความคิดในการออกแบบโครงสร้างที่มี ความเป็นไปได้และสอดคล้องกับลักษณะรูปทรงทางสถาปัตยกรรม
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 
1.2.1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ปฏิบัติการคำนวณหาแรงต่าง ๆ ที่กำหนด
1.2.2.กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 1.3.5 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
2.2.1 บรรยาย อภิบาย ยกตัวอย่างประกอบการสอน 2.2.2 มอบหมายงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 สังเกตพฤติกรรมในการทำงาน และการแก้ปัญหาในการทำงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และการแก้ปัญหา และการนำเสนอผลงาน 3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการนำเสนอด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 3.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 3.3.4 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.1.1 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 4.2.2 ให้นักศึกษานำเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนอ 4.3.2 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2. 3. 1 2. 3. 1 2. 1 2. 3. 4. 1 2. 3. 1 2. 3.
1 BARAT305 แนวคิดโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Ralph Stair, George Reynolds (200x). Fundamental of Information System, Thomson Course Technology
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ