เคมีอินทรีย์

Organic Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
    1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    2  มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับ โครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ทั้งชนิดสารประกอบ อะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก  สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี  
    3. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการ นำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีทักษะการแก้ปํญหา
    4. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    5. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษารู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาเคมีอินทรีย์และสามารถนำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสามารถตระหนักรู้ในประโยชน์และโทษของสารประกอบอินทรีย์ในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ทั้งชนิดสารประกอบ อะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก  สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
The study and laboratory practice about the structure, properties reaction and preparation of hydrocarbon compounds and derivatives, aliphatic compound, alicyclic compound, aromatic compound and derivativesand stereochemistry
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)      เพื่อให้คำปรึกษา
และนักศึกษาสามารถสอบถามข้อมูลผ่าน Application  line  โดยการจัดตั้งกลุ่มไลน์ อินทรีย์เคมีภาค 1-2564 ซึ่งอาจใช้Chat line  หรือ Video Calls ใน line ซักถามได้
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  ขยัน อดทน  ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย   ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกาย 
- บันทึกการเช็ดชื่อการเข้าเรียนตรงต่อเวลา 
- การส่งงานที่มอบหมายได้ครบถ้วน ตรงต่อเวลา
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
.  การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน  ทั้งแบบออนไลน์ผ่าน ระบบ MS Teams  และในห้องเรียน
.  สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา  .ให้ตัวอย่าง แนะนำแนวทางทำโจทย์ และให้ค้นคว้าเพิ่มเติม  ฝึกทำแบบฝึกหัด
 - การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล
. สอนปฏิบัติการทดลองทางเคมี  ให้ผู้เรียนศึกษาขั้นตอนการทดลองจากคู่มือปฏิบัติการทดลอง และเขียนสรุป Flowchart  ขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้าก่อนลงมือปฏิบัติการทดลอง   แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลอง  บันทึกผล  สรุปและอภิปราย วิเคราะห์ผล  และนำเสนอผลการทดลอง  
ประเมินผล หลากหลายวิธีการดังนี้
1.การสังเกต การซักถาม การมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล
2.การทำโจทย์แบบฝึกหัด จากใบงานที่มอบหมาย
3.การใช้แบบทดสอบทั้งแบบปรนัยและอัตนัย   สอบรายหน่วย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
4. บันทึกผล  สรุป และอภิปราย วิเคราะห์ผล  และนำเสนอผลการทดลอง  
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา  การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล
. ฝึกทักษะปฏิบัติการ   ให้ผู้เรียนศึกษาขั้นตอนการทดลองจากคู่มือปฏิบัติการทดลอง และเขียนสรุป Flowchart  ขั้นตอนการทดลองด้วยตนเองมาล่วงหน้า
ก่อนลงมือปฏิบัติการทดลอง     แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลอง  บันทึกผล  สรุปและอภิปราย วิเคราะห์ผล  ตอบคำถามท้ายการทดลอง  และนำเสนอผลการทดลอง  
.การตรวจโจทย์แบบฝึกคิดแก้ปัญหา จากใบงานที่ได้รับมอบหมาย
.การตรวจการเขียนสรุป Flowchart  ขั้นตอนการทดลองด้วยตนเองของนักศึกษามาล่วงหน้าก่อนลงมือปฏิบัติการทดลอง
.สังเกตจากปฏิบัติการทดลอง   การบันทึกผล  สรุปและอภิปราย วิเคราะห์ผล  และนำเสนอผลการทดลอง  ตอบคำถามท้ายการทดลอง รายงานผลการทดลอง
.การทดสอบ ทั้งแบบทดสอบ  และสอบทักษะปฏิบัติการ
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 . มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
  .การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
 . แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลอง  บันทึกผล  สรุปและอภิปราย วิเคราะห์ผล  และนำเสนอผลการทดลอง  
 
. สังเกต  พฤติกรรมความร่วมมือในการทำงานร่วมเป็นทีม  การแบ่งหน้าที่   
  ความร่วมมือในกลุ่ม  การช่วยกันแก้ปัญหา ทั้งในงานปฏิบัติการทดลองในกลุ่ม  และงานอื่นๆที่มอบหมายในชั้นเรียน
. การส่งงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่ม และรายบุคคล
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
. มอบหมายงาน ให้ใช้เทคโนโลยีในสืบค้นข้อมูล   การส่งข้อมูลสืบค้น ส่งงานผ่านระบบ Application line 
การนำเสนองานทั้งในห้องเรียนและนำเสนอผ่านระบบออนไลน์  MS  Teams
. กำหนดกรณีศึกษา  ให้นักศึกษาได้ใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล  วิเคราะห์  และนำเสนอในชั้นเรียน
. ประเมินจากการตรวจงานมอบหมาย  ให้ใช้เทคโนโลยีในสืบค้นข้อมูล
. ประเมิน จากกรณีศึกษา ความสามารถในการสืบค้น   การใช้สื่อ   ทักษะในการนำเสนอ  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) . ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา . ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCCC108 เคมีอินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เซ็ดชื่อการเข้าเรียนทั้งในระบบออนไลน์ และในชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การตอบคำถามในชั้นเรียน การทำโจทย์แบบฝึกหัด การใช้แบบทดสอบรายหน่วย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การบันทึกผลการทดลอง การตอบคำถามท้ายการทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง รายงานการสรุป อภิปรายผลการทดลอง สอบกลางภาค สัปดาก์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 ส่งสรุปรายงานผลการทดลอง ทุกสัปดาห์ 50 %
3 . มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การตอบข้อซักถาม การทำโจทย์เสริมทักษะ แบบทดสอบ ทดสอบทักษะปฏิบัติ การวิเคราะห์ผล สรุป อภิปรายผลการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 20 %
4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การร่วมมือในการทำงานกลุ่ม ชิ้นงาน การร่วมมือกันแก้ไขปัญหา การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ งานที่ได้รับมอบหมายหรือกรณีศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10 %
      ประสงค์   เหลี่ยมโสภณ.  2548. เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีอินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์และ
      เทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.        
      สาขาวิทยาศาสตร์.  2560. ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 
                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.               
     รำไพ  สิริมนกุล.  2546.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
     สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2548.  เคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 9.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
      ประดิษฐ์  มีสุข.  2544.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยทักษิณ,  สงขลา.
      สมพงษ์  จันทร์โพธิ์ศรี, 2552, เคมีอินทรีย์ 1, สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์, กรุงเทพ.
โสภณ  เริงสำราญและคณะ.  2545.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
      นงเยาว์   มาลัยทอง. 2548. คู่มือปฏิบัติการเคมี. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  เชียงใหม่.
      นาตยา  งามโรจนวณิชย์. 2548. คู่มือปฏิบัติการเคมี. ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์
             มหาวิทยาลัย.
      ประเสริฐ   ศรีไพโรจน์. 2544. เทดนิคทางเคมี.  พิมพ์ครั้งที่ 5.  ประกายพรึก.  กรุงเทพฯ.
      เผด็จ   สิทธิสุนทร และ คณะ.  2543.   คู่มือปฏิบัติการคมีอินทรีย์ .พิมพ์ครั้งที่ 2.  จุฬาลงกรณ์
                   มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
      พงษ์ทิพย์ โกเมศโสภาและธนานิธ เสือวรรณศรี, 2534, เคมีอินทรีย์พื้นฐาน, ภาควิชาเคมี
            คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ.
      วารุณี  ยงสกุลโรจน์. 2547.  ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1.  พิมพ์ครั้งที่ 8.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 
                   กรุงเทพฯ.
      วิจิตร  เอื้อประเสริฐ และ คณะ. 2548.  คู่มือปฏิบัติการเคมีอินทรีย์.   พิมพ์ครั้งที่ 2 . ภาควิชาเคมี 
                   คณะวิทยาศาสตร์   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การปรับปรุงการสอน โดยการหารือร่วมกันในแผนกเคมีเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
    จากผลการประเมิน และ การทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอน   การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา กับอาจารย์ประจำแผนกวิชาเคมี เพื่อให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงใช้ในการสอนครั้งต่อไป