เทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร

Fundamental Agricultural Biotechnology

1.1  เข้าใจความหมาย หลักการ แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ
1.2  เข้าใจเทคนิคและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่สำคัญ
1.3  เข้าใจการประยุกต์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
1.4  เข้าใจเกี่ยวกับข้อกำหนดและแนวทางในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในสิ่งมีชีวิตและความปลอดภัยทางชีวภาพ
1.5  เข้าใจสถานภาพปัจจุบันและผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อการเกษตร
1.6  มีเจตคติที่ดีต่อวิชาเทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร
1.7  รู้ทันวิทยาการความก้าวหน้าและสามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในสายวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ในรายวิชาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มที่เกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชานั้นๆ
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย หลักการ แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ; เทคนิคและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่สำคัญ; การประยุกต์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร; ข้อกำหนดและแนวทางในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในสิ่งมีชีวิตและความปลอดภัยทางชีวภาพ; สถานภาพปัจจุบันและผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อการเกษตร
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง ผ่านช่องทาง ดังนี้
    3.1  อาคารสาขาวิทยาศาสตร์ ห้อง 821 โทร. 0861839988  วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.
    3.2  e-mail : visutthithada_runvi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.3  Facebook : Aj Viran เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.4  line : kobzazaa เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
     1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีควารับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
     1.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
     1.2.1 ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
     1.2.2 การทำแบบทดสอบย่อยและการสอบกลางภาค-ปลายภาค
     1.2.3 การเรียนรู้โดยมอบหมายงานหรือโจทย์ปัญหาแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
     1.2.4 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง
     1.2.5 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
     1.3.1 แบบเช็คการส่งงานที่มอบหมาย
     1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนตามเกณฑ์ที่นักศึกษามีส่วนร่วม
     1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
     1.3.4 การไม่คัดลอกงานผู้อื่น
     1.3.5 ไม่ทุจริตในการสอบ
     2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้ และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
     2.1.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
     2.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองและนำเสนอผ่านระบบออนไลน์หรือแอพพลิเคชั่น
     2.2.2 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน, เวปไซต์)
     2.2.3 การสอบแบบตั้งคำถามหรือถาม-ตอบให้คิดวิเคราะห์
     2.2.4 การทดสอบความรู้ (แบบทดสอบหรือการถาม-ตอบปากเปล่า)
     2.2.5 การเรียนรู้จากการศึกษาด้วยต้นเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
     2.3.1 แบบทดสอบย่อย (ความรู้และเข้าใจในเนื้อหาที่ศึกษา)
     2.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค
     2.3.3 แบบประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย
     2.3.4 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
     2.3.5 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (ไหวพริบ ความเหมาะสมและความถูกต้องในการตอบคำถาม)
     3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
     3.1.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
     3.1.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
     3.2.1 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ
     3.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองจากโจทย์ปัญหาที่มอบหมายและนำเสนอผ่านระบบออนไลน์หรือแอพพลิเคชั่น
     3.2.3 การสอบแบบตั้งคำถามหรือถาม-ตอบให้คิดวิเคราะห์
     3.2.4 การทดสอบความรู้โดยกำหนดสถานะการณ์จำลอง (แบบทดสอบหรือการถาม-ตอบปากเปล่า)
     3.2.5 การมอบหมายงาน กิจกรรมหรือโครงการที่มีการบูรณาการระหว่างรายวิชากับชีวิตประจำวันหรือวิชาชีพ ให้ร่วมกันอภิปรายการประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหาสังคม
     3.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรม (การแสดงความคิดเห็นและร่วมทำกิจกรรมในชั้นเรียน)
     3.3.2 การตอบคำถามอย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
     3.3.3 แบบประเมินคุณภาพและความสำเร็จของผลงานกลุ่มที่มอบหมายตามเกณฑ์ที่กำหนด
     4.1.1  ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
     4.1.2  มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
     4.2.1 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม   
     4.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่ม ที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหา
     4.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในชั้นเรียน
     4.3.2 แบบประเมินคุณภาพและความสำเร็จของผลงานกลุ่มที่มอบหมายตามเกณฑ์ที่กำหนด
     5.1.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
     5.1.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     5.2.1 การมอบหมายงานหรือจัดทำโครงการเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล (ให้สืบค้นและวิเคราะห์ตัวอย่างจากกรณีศึกษา)
     5.2.2 การนำเสนอผลงานผ่านระบบออนไลน์หรือแอพพลิเคชั่น
     5.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมในชั้นเรียน (ดูการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารข้อมูลที่เหมาะสมหรือแก้ไขปัญหา)
     5.3.2 แบบประเมินคุณภาพของงานกลุ่มที่มอบหมาย
 
     6.1.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG004 เทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม, 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ, 2.2 มีความรอบรู้, 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ, 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้, 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ - การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การถามตอบ,การอภิปราย,การทำงานเป็นกลุ่ม) - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การถามตอบ,การอภิปราย,การทำงานเป็นกลุ่ม) - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 15%
3 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม, 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ, 2.2 มีความรอบรู้, การทดสอบย่อย 2,4,7 10%
4 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม, 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ, 2.2 มีความรอบรู้, 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ, 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้, 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ - คุณภาพของงานที่มอบหมาย - การสังเกตพฤติกรรมการนำเสนองานที่มอบหมาย 10-15 25%
5 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม, 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ, 2.2 มีความรอบรู้, 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ การสอบกลางภาค 8 20%
6 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม, 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ, 2.2 มีความรอบรู้, 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ การสอบปลายภาค 17 20%
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2560). เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร, พิมพ์ครั้งที่ 1. สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน, 285 หน้า.
1) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP: http:// social.nesdb.go.th/SocialStat/StatSubDefault_Final.aspx?catid=3. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.
2) ศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีชีวภาพและความปลอดภัยทางชีวภาพ (2560). ความปลอดถัยทางชีวภาพ [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.safetybio.agri.kps.ku.ac.th/index.php ?option=com_frontpage&Itemid=1. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.
3) McHughen, Alan. Pandora’s Picnic Basket: (2000). The Potential Hazards of Genetically Modified Foods. New York: Oxford University Press.
4) Robert W. Herdt (2006). BIOTECHNOLOGY IN AGRICULTURE, Annu. Rev. Environ. Resour. 31:265–95.
5) Scientific Advice Mechanism (2017). New Techniques in Agricultural Biotechnology, Explanatory Note 02. EUROPEAN COMMISSION, Brussels. 152 page.
6) DeVries, J. and Toenniessen, G. (2001). Securing the harvest: Biotechnology, breeding and seed systems for African crops. The Rockefeller Foundation, New York. USA
7) FAO (2002). Crop Biotechnology: A working paper for administrators and policy makers in sub-Saharan Africa. Kitch, L., Koch, M., and Sithole-Nang, I.
8) Agricultural biotechnology (2004). BRIEF #1: What is Agricultural Biotechnology?, U.S. Agency for International Developmen. Cornell University. 12 page.
9) International Service for the Acquisition of Agri-Biotech Applications. (2017). ISAAA brief 49-2014: Executive summary. Retrieved [Jan 17, 2017], from http://www.isaaa.org/resources /publications/briefs/49/executivesummary/default.asp.
10) Brookes, G., & Barfoot, P. (2017). GM crops: global socio-economic and environmental impacts 1996–2012. Dorchester, UK: PG Economics Ltd. p. 11. Retrieved [Jan 17, 2017], from http:// www.pgeconomics.co.uk/ pdf/2014globalimpactstudyfinalreport. pdf
 
1) กองบรรณาธิการ (2547). เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อกุ้งคุณภาพ. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์.  2(24): 30-32.
2) คณะผู้จัดทำรายการพิเศษเรื่องสถานภาพและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปรพันธุกรรมในประเทศไทย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (2546). วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 1(11) : 24-26.
3) ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและกฎหมายเทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ (2548).  บีที สารชีวินทรีย์กำจัดแมลงศัตรูพืช.  วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 4(30) : 26-31.
4) ณัฐพันธุ์ ศุภกา (2547). นาโนเทคโนโลยีชีวภาพกับการเกษตรไทย. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพ 2(19) :10-16.
5) ดรุณี เอ็ดเวิร์ดส (2546). เทคโนโลยีชีวภาพกับพืชไทย. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์ 1(4):8-9.
6) นิรนาม (2548). เทคโนโลยีชีวภาพ. วารวารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 4(32) : 17-21.
7) วัชริน มีรอด และศิริพร จำรัสเลิศลักษณ์ (2546). เทคโนโลยีชีวภาพกับโอกาสใหม่ของข้าวไทย.  วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 2(3) : 18-20.
8) ศิรศักดิ์ เทพาคำ (2546). สังคมไทยได้อะไรจากไบโอเทคโนโลยี. วารวารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 1(7) : 16-17.
9) ศิรศักดิ์ เทพาคำ (2547).สู่ถนนสายเทคโนโลยีชีวภาพ. วารวารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 2(14) : 7-11.
10) สัมฤทธิ์ เกียววงษ์ (2546). ไวรัสเอ็น พี วี ไบโอเทคโนโลยีสู่ชุมชน. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพปริทรรศน์. 1(8) : 25-32.
11) นายธวัช หะหมาน (2560). แนวคิดและผลสัมฤทธิ์ของเทคโนโลยีชีวภาพกับการเกษตร [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://oldweb.ocsb.go.th/udon/ToWeb/490610_Tawath_nano.htm. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.
12) สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (2560). เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=28&chap=5& page=chap5.htm. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.
13) European Biotech Week. (2017). BIOTECH WEEK MAGAZINE. Retrieved [Jan 17, 2017], from http://www.biotechweek.org/campaign-material/.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป