องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบ

Artistic Composition for Design

(1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ที่มาและความสำคัญ (การนำไปใช้)
(2)  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุ
(3)  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดวางองค์ประกอบหลักในงานศิลปะและการออกแบบ
(4)  มีความรู้ความเข้าใจวัสดุและเทคนิควิธีการ
(5)  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแรงบันดาลใจและความคิดสร้างสรรค์
(6)  เห็นคุณค่าและความสำคัญขององค์ประกอบศิลป์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ที่มาและความสำคัญของการออกแบบองค์ประกอบศิลป์ หลักการจัดองค์ประกอบ ด้วยวัสดุและเทคนิควิธีการต่าง ๆ โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

                       3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา

              4. ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และเกื้อกูลผู้อื่น   
           1.  ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย
           2. ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ
           3. ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหาขององค์ประกอบศิลป์เบื้องต้นโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้
2.2.2  เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์มาประยุกต์ใช้
2.2.3  จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.1  ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี
2.3.2  การปฏิบัติประเมินจากการทำโมเดล และการจัดแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1  ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชาา 3.2.2  จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
3.3.1   ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากผลการปฏิบัติงาน
4.2.1   จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2   สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
4.2.3  สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.1  สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2  ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย


 
 
 
4.3.3  การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม


 
 
 
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3.1   ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ
    5.3.2   ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
   5.3.3   ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
6.6.1  มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ     
6.6.2  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง      
 6.6.3  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTECC401 องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - การเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา - การแต่งกาย - การตรงต่อเวลาต่อการเขียนเรียนออนไลน์ - การตอบข้อซักถาม - เช็คชื่อ และผลงานที่ส่งตามวัน และเวลา 1-16 10 %
2 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค ผลคะแนนสอบภาคทฤษฎี 9 และ 18 30%
3 - ผลงานภาคปฏิบัติ - การส่งงานในระบบ อนนไลน์ 1-15 60%
ประเสิรฐ  พิชยะสุนทร. (2557) ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์              มหาวิทยาลัย.
วิรัตน์ พิชญไพบูลย์.(2524) ความเข้าใจศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เสรี  เรืองเนตร์.(2548) เส้นกับการออกแบบ.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
อารี  สุทธิพันธ์.(2532) ทัศนศิลป์และความงาม (หนังสือชุดทัศนศิลป์ 5).กรุงเทพฯ: แสงชัยการพิมพ์. 
อารี  สุทธิพันธ์.(2524) การออกแบบ.กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 2.บริษัทไทยวัฒนาพาณิช  จำกัด.             .
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2.1 ผลการสอบ และผลงานภาคปฏิบัติ
2.2   จากการประเมินของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา แบบฝึกหัดหรือการตรวจผลงานของนักศึกษา การร่วมวิเคราะห์งานกลุ่ม  รวมถึงพิจารณาผลจากการ สังเกต  การฝึกปฏิบัติ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  มีการประเมินผลการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
 
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
มาวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น