พื้นฐานการเขียนแบบ

Foundation of Drafting

              เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ การใช้ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ การเขียนภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ และการ เขียนทัศนียภาพ
              Study and practice of drafting tools and the usage of symbols in drafting along with orthographic projection, sections, 3D visuals and perspectives in drafting techniques
2.1 เพื่อศึกษาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ
2.2 เพื่อศึกษาการใช้ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ
2.3 เพื่อศึกษาการเขียนภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ และการ เขียนทัศนียภาพ
2.4 เพื่อปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ
2.5 เพื่อปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ และการ เขียนทัศนียภาพ
              ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ การใช้ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ การเขียนภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ และการ เขียนทัศนียภาพ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Email  (keam5300@hotmail.com)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีการเขียนแบบ
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงาน มีเอกสารและใบงานให้นักศึกษาปฏิบัติงาน
3.3.1   สอบกลางและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่ใช้หลักการและการวิเคราะห์การเขียนแบบพื้นฐาน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี      
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ     
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม     
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง งานรายกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอรายงาน
6.3.1 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
6.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTECC402 พื้นฐานการเขียนแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สอบกลางภาค และสอบปลายภาค สัปดาห์ที่9 และสัปดาห์ที่17 20คะแนนใน100คะแนนเต็ม
2 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง งานปฏิบัติ ความถูกต้องตามใบงาน หรืองานที่มอบหมายให้ การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองของผู้เรียน จัดทำรายงาน โครงงานศึกษาประจำรายวิชา พื้นฐานการเขียนแบบ สัปดาห์ที่1-8 และสัปดาห์ที่10-16 60คะแนนใน100คะแนนเต็ม
3 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่สั่ง(ตามใบงานที่กำหนดแต่ละสัปดาห์) มีเครื่องมือ อุปกรณ์การเขียนแบบในการปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่1-8 และสัปดาห์ที่10-16 20คะแนนใน100คะแนนเต็ม
กฤษฎา  อินทรสถิตย์. การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2546.
ดอกธูป  พุทธมงคล, ชนิด  สุมังคะโยธิน, สมชาย  เกตพันธุ์ และวรินทร์  รอดโพธิ์ทอง. เขียนแบบ  
เทคนิค 1,2. ม.ป.ท. : วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี, 2529.
ธวัช  ชัยวิศิษฐ์. เขียนแบบเครื่องกล. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท. , 2539.
ประเวช  มณีกุต. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จิตรวัฒน์, 2541.
อำนวย  อุดมศรี. เขียนแบบทั่วไป. กรุงเทพฯ : สยามสปอร์ต ซินดิเคท, 2537.
เอกสารประกอบการบรรยายPowerPoint ตัวอย่างประกอบการเรียนรู้ และใบงาน
หนังสือหลักการเขียนแบบ, เขียนแบบในระบบISO
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์