การออกแบบจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ

Display and Exhibition Design

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทและชนิดของการแสดงสินค้าและนิทรรศการ หลักการในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ จิตวิทยาในการออกแบบนิทรรศการ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
1. บอกประเภท ชนิด และลักษณะการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการได้
2. เข้าใจหลักการและความสำคัญของการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการได้
3. อธิบายจิตวิทยาในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการได้
4. อธิบายการเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการได้
5. เข้าใจระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
ฝึกปฏิบัติ จัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ และ การออกแบบนิทรรศการ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
Practice designing exhibits and exhibitions using materials and equipment for preparation and exhibitions; systems of exhibitors and exhibition.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์  ผ่าน Microsolf Teams, Zoom และ Line แล้วแต่กรณี
1.1.1 ™ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2       มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.1.3 ˜ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 1.3.2 การแก้ไขปัญหาด้วยคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต 
2.1.1 ™ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 ™ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย ยกตัวอย่าง และจากการฝึกปฏิบัติการ
2.2.2  มอบหมายงานตามหัวข้อการออกแบบนิทรรศการและการแสดงสินค้าที่เกี่ยวข้อง
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
3.1.1      สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 ˜ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 ™ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.1.4 ™ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1  มีการมอบงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และ ให้นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประกอบ แนวคิดในการออกแบบงานในแต่ละสัปดาห์
3.2.2  มอบหมายงาน ฝึกปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ตามกระบวนการออกแบบ อย่างมีขั้นตอน และความคิดสร้างสรรค์
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 ˜ มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.1.2 ™ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 ™ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 ทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อศึกษาข้อมูลวิเคราะห์วางแผนร่วมกัน
4.2.2 การติดต่อประสานงานทั้งในหลักสูตร และผู้ติดต่อประสานงานในการจัดนิทรรศการ
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงาน
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้  
4.3.3  ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
5.1.1 ˜ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 ™ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3     มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง งานที่มอบหมายให้ โดยเน้นความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบให้หาจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1  ™ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2  ™ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3  ˜ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
มอบหมายให้นักศึกษาออกแบบและจัดนิทรรศการผลงานออกแบบอุตสาหกรรม โดยการนำเอาชิ้นงานในงานศิลปนิพนธ์ของนักศึกษามาจัดแสดงในพื้นที่สาธารณะ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึง และเพื่อได้เผยแพร่ผลงานวิชาการ
ประเมินจากผลงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการออกแบบและจัดแสดงนิทรรศการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID119 การออกแบบจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2, 3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 30%
2 2, 3, 4, 5, 6 - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - ผลงานการฝึกปฏิบัติตามที่มอบหมายให้ ตลอดภาค การศึกษา ปลายภาค การศึกษา 60%
3 1, 2, 4 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาค การศึกษา 10%
พยุงศักดิ์ ประชุมศิลปะ, การออกแบบสำหรับนิทรรศการ, กรุงเทพฯ, 2535
อุดม การแหงหาญ. การออกแบบนิทรรศการ. สถาบันราชภัฏเพชรบุรี, เพชรบุรี, 2542
ปราโมทย์ แสงพลสิทธิ์. การออกแบบนิเทศศิลป์ 1, Visual communication design 1. คณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิตใ กรุงเทพฯ, 2540
เปรื่อง กุมุท, เทคนิคการจัดนิทรรศการ, สุวีริยาสาส์น.
พจนีย์ เพทประสิทธิ์, 100 วิธีการจัดบอร์ดนิทรรศการ, Island Publishing.
พยุงศักดิ์ ประจุศิลป์, การออกแบบสำหรับนิทรรศการ. Art and Exhibition Design, KAYA Group Compact Design.
วุฒิ วัฒนสิน, เอกสารประกอบการอบรม เทคนิคการจัดนิทรรศการ, แผนกวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปัตตานี
รุ่งโรจน์ วงศ์มหาศิริ. ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ. The national exhibition center. 2539-2540.
ธนบูรณ์ศศิภานุเดช. การออกแบบระบบแสงสว่าง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2533.
กิติ สินธุเสก. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน : หลักการพิจารณาเบื้องต้น. Interior design fundamental. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ, 2550.
พิชัย สดภิบาล. การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. Interior architectural design. งานตารางและเอกสารการพิมพ์ และครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ, 2540.
เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Education Technology and communication) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2523.
วรสิทธิ์ มุทธเมธา การออกแบบในศตวรรษที่ 20. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. สงขลา, 2550.
นพชัย สัจจะประดิษฐ์. บทเรียนสาเร็จรูปวิชา Digital circuit and logic design, Digital and logic design courseware, 2546.
ถวัลย์ มาศจัส/มณี เรืองขา. นวัฒกรรมการศึกษาชุดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียน, การสอนโครงงาน (Project), กรุงเทพฯ: โรงเพิมพ์ธารอักษร, 2549
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น
จากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านระบบการเรียนการสอนออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2.1            การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2            ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3            การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินของราชวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรม กลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งหลักสูตร เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้นๆ
หลักสูตรมีการประเมินข้อสอบและพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนรวมถึงผลคะแนนของนักศึกษาในแต่ละเทอม
หลักสูตรมีระบบทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา   และจากคณะกรรมการของคณะฯ การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์ที่ใช้สอน และนำเสนอ แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา เสนอต่อคณะกรรมการประจำหลักสูตรพิจารณา ให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป