การจัดการเชิงกลยุทธ์

Strategic Management

ทราบถึงแนวคิดในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ ทราบถึงกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ เข้าใจถึงการกำหนดกลยุทธ์ในระดับต่างๆ ขององค์การ เข้าใจถึงการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุมกลยุทธ์ รู้ถึงแนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ทันสมัย โดยใช้กรณีศึกษาประกอบการศึกษา
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจในด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ยังได้มีการปรับปรุงเนื้อหา และตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับการบริหารจัดการในยุคปัจจุบัน
ศึกษาแนวคิดในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ การ
กำหนดกลยุทธ์ในระดับต่างๆ ขององค์การ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุม
กลยุทธ์ รวมถึงแนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ทันสมัย โดยกรณีศึกษาประกอบ
การศึกษา
          To study the principles of strategic management, analyses of business
contexts among national and international organizations, processes of
strategic planning, processes and techniques of business planning,
setting business policies and goals, setting different levels of strategies
in organizations, application of business strategies in practice,
evaluation, assessment and control of the planned strategies, and
methods of recent strategic management using case studies.
- 1  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
—1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
™2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความ สำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
™1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
™2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
—3. ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
™4. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
—5. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2.2 ความรู้
2.2.1  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
—1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
™2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน
—3. มีความรู้และความเข้าในในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุง แผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
™4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่าง เท่าทัน
™8. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการ เปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
—1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
™2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
™3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
™4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
™5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
™6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
—7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
 
2.3 ทักษะทางปัญญา 
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
—1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
—2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจาก ทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือก ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน ทางธุรกิจ
™3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
™4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความ ต้องการ
 
2.3.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
™1)  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 
™2)  กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 
—3)  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 
—4)  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 
™5)  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การ วิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
2.3.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา และประเมินจาก การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และ วิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมา คำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
2.4  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้
™2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
™3. มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก ต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาท ของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
™4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง
™6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™7. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและ ของกลุ่ม
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™1. ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
™2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำ และผู้ตาม
—3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการ อภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
™4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายใน สถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
—5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
2.4.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
—2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
™3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
—4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
™5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา  
2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
—2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของ สื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้ง ในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
 
2.5.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
™1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 
—2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
—3. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
™4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
™5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟท์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้    
          2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
—2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการน าเสนอด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
™3. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
—4. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่ง ได้รับมอบหมายร่วมกัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.3.1,2.2.3.7 สอบหน่วยเรียนที่ 1 สอบหน่วยเรียนที่ 2 สอบหน่วยเรียนที่ 3 สอบหน่วยเรียนที่ 4 สอบหน่วยเรียนที่ 5 สอบหน่วยเรียนที่ 6 8,17 70%
2 2.3.3,2.4.3.2,2.4.3.4,2.5.3.2,2.5.3.4 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1.3.3,2.1.3.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์/สาธารณประโยชน์ต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
1 ตำราและเอกสารหลัก     
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์
2.   เอกสารและข้อมูลสำคัญ
 ผศ.ดร. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ (ฉบับปรับปรุงใหม่) ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.,2009 จินตนา บุญบงการ,ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ : Strategic Management ซีเอ็ดยูเคชั่น,      
         บมจ.,2001
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ ยอดกลยุทธ์การบริหารสำหรับองค์การยุคใหม่ เอ็กซเปอร์เน็ท, บจก.,2001
      พิบูล ทีปะปาล การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา       สุดใจ วันอุดมเดชาชัย การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา       ภักดี มานะหิรัญเวท หัวใจของการจัดการเชิงกลยุทธ์ (ESSENTIALS OF STRATEGIC MANAGEMENT)
               สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา       รองศาสตราจารย์ บุญเกียรติ ชีวะตระกูลกิจ Strategic Management การจัดการเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ CEO
อนิวัช แก้วจำนงค์‑ การจัดการเชิงกลยุทธ์ =Strategic management
เอกสารและข้อมูลแนะนำ
ไม่มี
1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิภาพผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
2 กลยุทธ์การประเมินการสอน
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน
 
3 การปรับปรุงการสอน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
 
4 กระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
5 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
   จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ