การเงินธุรกิจ

Business Finance

1. นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางการเงินธุรกิจ  2. นักศึกษาจะต้องรู้และเข้าใจเทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์และการควบคุมทางการเงิน 3. นักศึกษาสามารถรู้และเข้าใจการจัดการทุนเหมนุเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน
เพื่อจัดทำรายละเอียดของรายวิชาให้สอดคล้องตาม มคอ.2 และจัดทำแผนการสอนใน มคอ.3 ให้เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิการศึกษา
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ เทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุน และโครงสร้างทางการเงิน
เฉลี่ย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ กรณีนักศึกษามีปัญหาไม่สามารถทำแบบฝึกหัดได้ หรือไม่เข้าใจเนื้อหาในเวลาเรียนให้สอบถามเพิ่มเติม
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 2. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1. 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน แก้ไข
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBACC107 การเงินธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.11 5.11 สอบกลางภาค 9 25%
2 2.11 5.11 สอบปลายภาค 17 25%
3 1.1.3 2.1.2 3.1.1 4.1.1 6.1.1 แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน ตลอดภาคเรียน 2/2563 30%
4 1.1.3 2.1.2 3.1.1 4.1.1 6.1.1 การจัดทำรายงานจากกรณีศึกษาจริงของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สัปดาหฺ์ที่ 12-16 10%
5 1.1.2 4.1.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา 2/2563 10%
- หนังสือการเงินธุรกิจ ผศ.อภิชาติ พงศ์สุพัฒน์ กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หนังสือค้นคว้านอกเวลาเพิ่มเติม เช่น
- การจัดการการเงิน แปลและเรียบเรียงโดย รศ.เริงรัก จำปาเงิน
- การเงินธุรกิจ แปลและเรียบเรียง โดย อ.ฉันทนา ศรีนวกุล
- การเงินธุรกิจ โดย ผศ.พรรณุภา ธุวนิมิตรกุล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯลฯ
- การค้นคว้าจาก Website ต่างๆ เช่น sec.or.th ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - วารสาร บทความวิชาการ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินผลการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
- การประเมินในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอนจากกิจกรรมที่มอบหมาย หรือ - ผลคะแนนการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
จากข้อ 2. สอบถามข้อมูลจากนักศึกษาและ นำมาพิจารณาเทคนิค วิธีการสอน สำหรับกลุ่มนักศึกษาที่ไม่เข้าใจหรือทำคะแนนการสอบไม่ผ่าน 
โดยกรรมการหรือคณะกรรมการผุู้รับผิดชอบหลักสูตร  - การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา - การประเมินการสอนของนักศึกษา 
- การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ -  การประเมินข้อสอบ  รายงานโครงการ ผลคะแนน 
มีขั้นตอนคือ -  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา - นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน - นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร