การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าและนิวแมติก

Electrical Control Motor and Pneumatic

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในการควบคุม หลักการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์แบบต่างๆ การควบคุมมอเตอร์แบบอัตโนมัติ อุปกรณ์นิวเมติกส์และการควบคุมระบบนิวเมติกส์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ทางการควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติกส์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการนำไปพัฒนา และประยุกต์ใช้งานในการประกอบอาชีพในอนาคต ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยี และนวัตรกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติการเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในงานควบคุม หลักการท างานของ อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมการสตาร์ท มอเตอร์แบบต่างๆ การควบคุมมอเตอร์แบบอัตโนมัติ อุปกรณ์นิวเมติกส์และการควบคุมระบบนิวเมติกส์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความรับผิดชอบ ต่อจรรยาบรรณทา วิชาการ และวิชาชีพ ตลอดจนมีวินัย ความขยันอดทน การตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1.1.1 นักศึกษาต้องมีความรู้ และความเข้าใจด้านจรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 1.1.2 ปลูกฝังให้นักศึกษาให้ยึดถือ และนำจรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพที่ได้นำไปใช้งาน 1.1.3 ปลูกนักศึกษาให้เป็นผู้มีวินัย ขยันอดทน การตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เกี่ยวกับประเด็นทางด้านจรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ที่สามารถพบได้สังคม และการทำงานปัจจุบัน 1.2.2 ทำรายงาน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน พฤติกรรมในห้องเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงานเดี่ยว การนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์
พัฒนาทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ รวมถึงการพัฒนาทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษานำเสนอแนวความคิด และปัญหาที่สนใจ 3.2.2 ให้นักศึกษาได้ลงปฏิบัติ และแก้ไขสภาพปัญหาจริง ในรูปแบบการซ่อมบำรุง 3.2.3 นำผลในข้อ 3.2.1 และ 3.2.2 มาทำการศึกษา และแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างนักศึกษา 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำ และผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดให้มีการแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างผู้เรียนในวิชาเรียน และการนำเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและ/หรือรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี 4.2.3 การนำเสนอรายงาน และการซักถาม-ตอบคำถาม
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการระหว่างการเข้าร่วม และความสนใจ 4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะในการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา
5.2.1 มอบหมายงานหัวข้อ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และงานวิจัยที่น่าสนใจ ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยให้นำเสนอผ่านการทำเล่มรายงานพร้อมการนำเสนอความคิดสนับสนุน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากการสอบข้อเขียนทางด้านการพัฒนาทางความคิด จากตัวอย่างสมมุติ
นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติงานทางวิชาชีพและพัฒนาตนเองได้ โดยนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆจากทักษะการปฏิบัติ ดังนี้ 6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.1.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.1.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ 6.3.1 จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ ความถูกต้อง 6.3.2 คุณภาพของงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,3.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 30%
2 2.1.2, 3.1.1 4.1.1, 4.1.3 ,5.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.1,1.1.3, 2.1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคเรียน 10%
อำนาจ ทองผาสุข 2548. การควบคุมมอเตอร์. ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพมหานคร. 179 น. บุญสืบ โพธิ์ศรี และคณะ. 2546 .งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น.ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, กรุงเทพฯ
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ