เครื่องมือวัดและการวัดไฟฟ้า

Electric Instrument and Measurement

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือวัดมาตรฐาน การซีลด์ ความปลอดภัยความเที่ยงตรง ความผิดพลาด ความไม่แน่นอนของการวัด การวัดแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้า การขยายย่านวัด การวัดอิมพีแดนซ์ที่ความถี่สูงและต่ำ ทรานสดิวเซอร์ การวัดทางแม่เหล็ก เทคนิคการวัดด้วยระบบดิจิทัล สัญญาณรบกวน เทคนิคในการทาอัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน และออสซิลโลสโคป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ทางการวัดไฟฟ้า เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มีการกระตุ้นให้นักศึกษาตั้งคําถามเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหาเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มีการกระตุ้นให้นักศึกษาตั้งคําถามเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหา
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือวัดมาตรฐาน การซีลด์ ความปลอดภัยความเที่ยงตรง ความผิดพลาด ความไม่แน่นอนของการวัด การวัดแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้า การขยายย่านวัด การวัดอิมพีแดนซ์ที่ความถี่สูงและต่ำ ทรานสดิวเซอร์ การวัดทางแม่เหล็ก เทคนิคการวัดด้วยระบบดิจิทัล สัญญาณรบกวน เทคนิคในการทาอัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน ออสซิลโลสโคป
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (หลัก)
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (รอง)
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในกิจกรรมเสริมหลักสูตร
- ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดย การวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการนำความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อนำมาประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการฝึกงานในสถานประกอบการ และปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
- การทดสอบย่อย
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการทฤษฎี และปฏิบัติ
- การทำแบบฝึกหัดและการทำการทดลอง
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ  ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
- สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา และการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- การทำการทดลอง การคำนวณ การวิเคราะห์และอภิปรายผลการทดลอง
4.1.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ กำหนดบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการระหว่างการเข้าร่วม และความสนใจ
- การแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร
- ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
- ประเมินจากการสอบข้อเขียนทางด้านการพัฒนาทางความคิด จากตัวอย่างสมมุติ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน  
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติ
- ความถูกต้องจากการทำงานในภาคปฏิบัติ
- โครงงานประยุกต์ในรายวิชา
- สังเกตขณะปฏิบัติการสอนภายในกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1 TEDEE403 เครื่องมือวัดและการวัดไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 3.1.1และ 3.1.2 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 12 สัปดาห์ที่ 17 5 % 20% 5% 25%
2 1.1.2, 4.1.3, 5.1.1 และ 6.1.1 - การทดลองและรายงาน - แบบฝึกหัดและโครงงานประยุกต์ ตลอดภาคการศึกษา 20% 15%
3 1.1.3 และ6.1.1 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ประยูร เชี่ยววัฒนา. (2535). เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า, สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์. (2562). เครื่องมือวัดและวงจรไฟฟ้า. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
มงคล ทองสงคราม. (2552). เครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า. วี.เจ. พริ้นติ้ง.
มงคล ธุระ. (2543). เครื่องวัดไฟฟ้า. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญี่ปุ่น).
ไวพจน์ ศรีธน. (2557). เครื่องวัดไฟฟ้า. วังอักษร.
ศักรินทร์ โสนันทะ. (2552). เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ์. (2542). หลักการและการใช้งานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
เอก ไชยสวัสดิ์. (2546). การวัดและเครื่องวัดไฟฟ้า (พิมพ์ครั้งที่ 6). สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญี่ปุ่น).
Arthur, M. (1990). Electric Circuits and Machines. McGraw-Hill.
Bell, D. A. (1994). Electronic Instrumentation and Measurements. Prentice-Hall.
Byers, T. J. (1987) Electronic Test Equipment Principles and Applications. Intertext Publications.
Charles, K. A. and Matthew, N. O. S. (2013). Fundamentals of Electric Circuits. McGraw-Hill.
Chiang, H. H. (1984). Electrical and Electronic Instrumentation. John Wiley & Sons.
Chiswell, B. (1971). SI Units. John Wiley & Sons.
Considine, D.M. (1974). Process Instrument and Control Handbook. McGraw- Hill.
Coombs, C.F. (1972). Basic Electronic Instrument Handbook. McGraw-Hill.
Cooper, W.D. (1978). Electronic Instrumentation and Measurement Techniques. Prentice-Hall.
Erk, R.V. (1978). Oscilloscope. McGraw-Hill.
Fischer, W.A. (1978). Understanding Oscilloscopes and Display Waveforms. John Wiley & Sons.
Frank, E. (1959). Electrical Measurement Analysis. McGraw-Hill.
Herrick, C.N. (1972). Instruments and Measurements for Electronics. McGraw-Hill.
Harris, F.K. (1974). Electrical Measurement. Wiley Eastern.
Helfrick, A. D., Cooper, W. D. (1990). Modern Electronic Instrumentation and Measurement Technique. Prentice Hall.
John, B. (2003). Electrical Circuit Theory and Technology. Newnes.
John, O. M. (1992). Theory and Problems of Basic Circuits Analysis. McGraw-Hill.
James, W. N, Susan, A. R. (2011). Electric Circuits. Prentice-Hall.
Joseph, J. C. (1985). Elements of Electronic Instrumentation and Measurement. Reston Publishing Company.
Kantrowitz, P. (1979). Electronic Measurements. Prentice Hall.
Larry, D. J., Chin, A. F. (1991). Electronic Instruments and Measurement. Prentice-Hall International.
Leader. (1990). Electronic Measuring Instruments. Leader Electronic.
Oliver, C. (1980). Electronic Measurements and Instrumentation. Tosho Printing Co.
Philip, K., Gabriel, K. and Lawrence, Z. (1991). Electronic Measurements.Prentice-Hall.
Robert, B. N. (2005). Introduction to Instrumentation and Measurements. Taylor & Francis Group.
Roth, C.H., Jr. (1970). Use of The Oscilloscope. Prentice-Hall.
Schnell, S. L. (1993). Technology of Electrical Measurement. John Wiley & Sons.
Spitzer, F. (1972). Principles of Modern Instrumentation. Rinehart and Winston.
Terman, F. E. (1952). Electronic Measurements. McGraw-Hill.
Theraja, B. L. (1974). A Text-Book of Electrical Technology. S Chand & Co. Ltd.
Tumanski, S. (2006). Principles of Electrical Measurement. Taylor & Francis Group.
Wedlock, B. D. (1969). Electronics Components and Measurements. Prentice Hall.
Wolf, S. and Smith R. F (1990). Student Reference Manual for Electronic Instrumentation Laboratories. Prentice Hall.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ