อาหารเชิงหน้าที่

Functional Foods

1.1 รู้บทบาทของวัตถุดิบทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่เช่น สมุนไพร ผักพื้นบ้าน เป็นต้น
1.2 เข้าใจองค์ประกอบของอาหารเฉพาะหน้าที่ เช่น อาหารเสริมสารอาหาร (fortified food) อาหารบำบัดโรค (pharmaceutical food) อาหารชีวจิต (neutraceutical food) และอาหารเพื่อความงาม (beauty food)
1.3 เข้าใจและรู้มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่
1.4 เข้าใจวิธีการวิเคราะห์คุณภาพอาหารเฉพาะหน้าที่ สารออกฤทธิ์ชีวภาพ (bioactive compound) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่
1.5 เข้าใจชนิดและประเภทของอาหารเฉพาะหน้าที่ชนิดต่างๆ  
1.6 รู้วิธีการศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงาน
 
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิทยาการด้านอาหารเชิงหน้าที่สมัยใหม่
ศึกษาบทบาทของวัตถุดิบทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่เช่น สมุนไพร ผักพื้นบ้าน เป็นต้น อาหารเฉพาะหน้าที่ชนิดต่างๆ เช่น อาหารเสริมสารอาหาร (fortified food) อาหารบำบัดโรค (pharmaceutical food) อาหารชีวจิต (neutraceutical food) และอาหารเพื่อความงาม (beauty food)  มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ การวิเคราะห์คุณภาพอาหารเฉพาะหน้าที่ สารออกฤทธิ์ชีวภาพ (bioactive compound) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงาน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตั้งแต่ 15.00 น.-17.00 น. ทุกวันพุธ
2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย 
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในการวิจัย
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิจัย  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัย การมีจรรยาบรรณวิจัย  โดยการรายงานตัวอย่างการวิจัยที่มีจรรยาบรรณ
2. นักศึกษาประเมินตนเอง
1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม 
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา  และสื่อสารสนเทศ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัย
1. การนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อการศึกษาของนักศึกษา
2. การสอบทวนโดยวิธีปากเปล่าทุกครั้งก่อนเริ่มเรียนหน่วยใหม่
1.มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
2. สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน 
2. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการวิจัยในสถานการณ์จริง พัฒนา กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  
3. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมความคิดในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากประเด็นปัญหาที่กำหนด  
1. ประเมินจากการอธิบาย ตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็น เป็นรายบุคคล
2. รายงานความก้าวหน้าเล่มรายงานที่วิเคราะห์แบบกลุ่ม
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
2. สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
3. สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
3. การสอนแบบวิเคราะห์ร่วมโดยกลุ่ม 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อที่กำลังศึกษา
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
1. ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
4.  สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
3. การสอนแบบรายงานเชิงวิเคราะห์ผลงานค้นคว้า
1. ความถูกต้องของผลการวิเคราะห์งานที่ค้นคว้า
2. การนำเสนอรายงานเชิงวิเคราะห์ของผลงานที่ นศ. ค้นคว้ามา ด้วยปากเปล่า
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCGT413 อาหารเชิงหน้าที่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 2.3, 2.6, 3.1 - 3.2 สอบกลางภาค และปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 40
2 4.1-4.4, 5.1, 5.3,5.4 ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 50
3 1.2, 1.3, และ 1.6 1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 2. การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
1. อัญชลี ศรีเจริญ. (2012). อาหารเพื่อสุขภาพ : สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน. สำนักพิพม์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2.กิจจา ฤดีขจร และคณะ. (2008). อาหารรักษาโรค. สำนักพิพม์รีดเดอร์ส ไดเจสท์ (ประเทศไทย ).
3. ชนิดา ปโชติการ. (2557). อาหารและสุขภาพ. เสริมมิตร พริ้นติ้ง.
4.เฉลิม ศรีภิรมย์. (2560).มังสวิรัติ อาหารเพื่อสุขภาพ อาจารย์เฉลิม ศรีภิรมย์ ชุด อาหารเพื่อสุขภาพ. สำนักพิมพ์แม่บ้าน.
5.Sunmin Park et al. (2518). Korean Functional Foods: Composition, Processing and Health Benefits. Taylor & Francis eBooks.
วิลาสินี สิทธิโสภณ. (2564). กฎหมายว่าด้วยอาหารกับการคุ้มครองผู้บริโภค สืบค้นจาก https://cdc.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1832.
มาลี จิรวงศ์ศรี. (2561). มาตรฐานและกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร สืบค้นจาก https://www3.rdi.ku.ac.th/wp-contents/uploads/2018/08/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A32018-%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2.pdf
Manowan, K., Wongputtisin, P., Tassanaudom, U., Sassa-deepaeng, T., & Chomsri, N. (2020) Quality characteristics of fermented mushroom and vegetable product using a mixed starter of lactic acid bacteria. Science, Sustainable Agriculture and Agroindustrial Engineering (AFSSAAE). 3(1), 25-31.3(1), 25-31.
ให้นักศึกษาตั้งเป้าหมายผลการเรียนและให้พิจารณาผลงานที่ตนเองทำได้โดยการมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
ประเมินผลการสอนโดยการมีส่วนร่วมให้นักศึกษาพิจารณาผลงานตนเองเปรียบเทียบกับของผู้สอน
ให้นักศึกษาวิเคราะห์รายงานผลการวิจัยจากวารสารแล้วถอดความรู้รวมทั้งวิจารณ์การวิจัยให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนฟัง และผู้สอนสรุปการวิเคราะห์
ในระหว่างกระบวนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในแต่ละหน่วยเรียน ดูจากเวลาและความถูกต้องของงานที่มอบหมาย และสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย
นำผลการประเมินการสอนของนักศึกษาและเกรดผลการเรียนมาใช้ในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนเพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป