เทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร

Fundamental Agricultural Biotechnology

1.1 เข้าใจความหมาย หลักการ แนวคิดและความรู้พื้นฐานที่สำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ
1.2 เข้าใจเทคนิคและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่สำคัญ
1.3 สามารถประยุกต์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
1.4 เข้าใจข้อกำหนดและแนวทางในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในสิ่งมีชีวิต
1.5 เข้าใจความปลอดภัยทางชีวภาพ
1.6 เข้าใจสถานภาพปัจจุบันและผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อการเกษตร
1.7 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
2.2 เพื่อปรับปรุงเนื้อหาที่สอนให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาความรู้และเทคโนโลยีทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตรให้สอดคล้องกับการพัฒนาระดับประเทศ และระดับโลก
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย หลักการ แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ; เทคนิคและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่สำคัญ;การประยุกต์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร; ข้อกำหนดและแนวทางในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในสิ่งมีชีวิตและความปลอดภัยทางชีวภาพ; สถานภาพปัจจุบันและผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อการเกษตร
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เฉพาะรายที่ต้องการ
š1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. ชี้แจง ตกลงกฎเกณฑ์ต่างๆ และวิธีการเรียนการสอน ปรับทัศนคติต่อรายวิชาในชั่วโมงแรก
2. การตั้งประเด็นคำถามให้ผู้เรียนเกิดแนวความคิด เกิดการแสดงความคิดเห็นร่วมกันเพื่อให้เกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มีแรงจูงใจในการเรียน
3. การอภิปรายรายบุคคลและรายกลุ่มเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคล ฝึกความเป็นผู้นำและสามารถนำไปบูรณาการได้
4. กระตุ้นให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
5. ปลูกฝังความมีระเบียบวินัยในตัวเอง โดยการกำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4. ประเมินผลกิจกรรมที่มอบหมายรายกลุ่มและรายบุคคล
5. สังเกตจากพฤติกรรมการตอบคำถาม
˜2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายและใช้สื่อการสอนชนิดต่างๆ อย่างเหมาะสม
2. การซักถามในบทเรียนรวมทั้งร่วมกันอภิปราย เพื่อแสดงความคิดเห็นและความสัมพันธ์เหล่านั้นตามความเข้าใจ
3. ทำการสอนโดยอาศัยวิดีโอหรือภาพเคลื่อนไหว (animation) เพื่อให้นักศึกษาเกิดการจินตนาการตามเนื้อหาและเกิดความเข้าใจในเนื้อหาเพิ่มมากขึ้น
4. นำงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนมาทำการบูรณาการกับการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการอภิปราย เกิดคำถาม และเกิดการแก้ปัญหา
5. สร้างคำถาม มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้และสืบค้นด้วยตนเองแล้วนำเสนอรายงานหน้าชั้น (presentation) หรือทำรายงาน (report)
1. การทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ผลการทำข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลการเรียนรู้จากผลงานที่มอบหมายในระหว่างเรียน เช่น จากการนำเสนอรายงานหน้าชั้น หรือ จากการทำรายงาน
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
˜3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ และรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้ และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียนโดยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในเนื้อหาวิชาบูรณาการเข้ากับงานวิจัย งานบริหารวิชาการหรือศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำความเข้าใจกับงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว นำมาเสนอให้เพื่อนร่วมชั้นได้อภิปรายร่วมกัน เกิดทักษะในการค้นคว้า ตอบคำถาม ถามปัญหา แก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการนำเสนอ
1. สอบกลางภาคและปลายภาคโดยข้อสอบเน้นการใช้สถานการณ์
2. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
3. จากการนำเสนอผลงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
š4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาจัดระบบการทำงานกลุ่มด้วยตนเอง
2. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนเพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันและบุคคลภายนอก
1. ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
2. พฤติกรรมการทำงานทั้งในและนอกชั้นเรียน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
š5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยใช้สื่อการสอนชนิดต่างๆ หรือสื่อออนไลน์อย่างเหมาะสม
2. นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1. คุณภาพของการจัดทำรายงาน
2. การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
6. ทักษะพิสัย
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ และรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้ และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1 BSCAG004 เทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1-3.5 การเข้าชั้นเรียน การนำเสนองาน/การรายงาน การส่งงานตรงตามเวลา และการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การเข้าชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1-8 และ 10-16 การนำเสนองาน/การรายงาน การส่งงานตรงตามเวลา และการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ การสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 การเข้าชั้นเรียน 5% การนำเสนองาน/การรายงาน การส่งงานตรงตามเวลา และการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 25% การสอบกลางภาค 35% การสอบปลายภาค 35%
1.1 คณะกรรมการกลุ่มชุดวิชาพื้นฐาน. (2552). ชีวเคมีพื้นฐาน (Fundamentals of Biochemistry). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
1.2 คณะกรรมการเทคนิคด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ. (2559). แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Biosafety guidelines for modern biotechnology). กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.
1.3 นิตย์ศรี แสงเดือน, และสัมพันธ์ คัมภิรานนท์. (2553). เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
1.4. เฉลิมชัย วงษ์อารี. (2011) GMOs: ความปลอดภัยทางอาหารกับทิศทางของประเทศไทย. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. สืบค้น 8 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.phtnet.org/ 2011 /11/ 100/
1.5 มณีวรรณ สุขสมทิพย์. (2554). การโคลนยีนเบื้องต้น (Introductory Gene Cloning). กรุงเทพฯ: บริษัทวี.พริ้น จำกัด.
1.6 วรพันธ์ บุญชัย. (2558). เทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พรื้นติ้ง เฮ้าส์.
1.7 สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล. (2556). วิศวกรรมกระบวนการหมัก. กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
1.8 สมใจ ศิริโภค. (2555). จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม Industrial Microbiology. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีจำกัด.
1.9 รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ. (2560). กรุงเทพฯ: สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
1.10 ศิริลักษณ์ เอี่ยมธรรม. (2552). พันธุวิศวกรรม: วิธีการและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
1.11 ศุภศิษฏ์ อรุณรุ่งสวัสดิ์. (2552). ชีวเคมีพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ท้อป.
1.12 อรัญ หันพงศ์กตติกูล. (2560). เทคโนโลยีเอนไซม์ (Enzyme Technology). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
1.13 Azam, M., Mohsin, M., Ijas, H., Tulain, U. R., Ashraf, M. A., Fayyaz, A., et al. (2017). Lactic acid bacteria in traditional fermented Asian foods. Journal of Pharmaceutical Sciences, 30(5), 1803-1814.
1.14 Bhatia, S. & Goli, D. (2018). Introduction to Pharmaceutical Biotechnology, 1; Basic Techniques and Concepts. UK: IOP Publishing.
1.15 Bravo, A., Likitvivatanavong, S., Gill, S. S. & Soberón, M. (2011). Bacillus thuringiensis: A story of a successful bioinsecticide. Insect Biochemistry and Molecular Biology, 41, 423-431.
1.16 Bucio, J. L., Flores, R. P. & Estrella, A. H. (2015). Trichoderma as biostimulant: exploiting the multilevel properties of a plant beneficial fungus. Scientia Horticulturae, 196, 109–123.
17. Campbell, M. K. & Farrell, S. O. (2012) Biochemistry (6th ed.). CA: BROOKS/COLE.
18. Chakravarty, A. K. (2013). Introduction to Biotechnology, USA: Oxford University Press.
19. Crespi, J. M. & Marette, S. (2003). “Does Contain” vs. “Does Not Contain”: Does it matter which GMO label is used?. European Journal of Law and Economics, 16, 327–344.
20. Denby, C. M., Li, R. A., Vu, V. T., Costello, Z., Lin, W., Chan, L. J. G., et al. (2018). Industrial brewing yeast engineered for the production of primary flavor determinants in hopped beer. Nature Communications, 9, 965.
21. Fletcher, G. L., Hew, C. L. & Davies, P. L. (2001). Antifreeze Proteins of Teleost Fishes Annual review of physiology. Annu. Rev. Physiol, 63, 359–90.
22. Friedrichs, J. (2009). Analyzing Interactions Between Cells and Extracellular Matrix by Atomic Force Microscopy (Doctor Dissertation). Retrieved July 20, 2016, from https://d-nb.info/106 3280001/34
23. Fromm, J. H. & Hargrove, S. M. (2012). Essentials of Biochemistry, New York, USA: Springer-Verlag Berlin Heidelberg.
24. Hardyhall. (2006). BT Corn: Is It Worth the Risk. The Science Creative Quarterly, Retrieved October 1, 2015, from https://www.scq.ubc.ca/bt-corn-is-it-worth-the-risk/
25. Herren, V. R. (2013). Introduction to Biotechnology: An Agricultural Revolution. USA: DELMAR CENGAGE Learning.
26. Hill, A. E. (2015). Brewing Microbiology: Managing Microbes, Ensuring Quality and Valorising Waste. UK: Woodhead Publishing.
27. Huang, J., Hu, R. & Fan, C. (2002). Bt Cotton Benefits, Costs, and Impacts in China. AgBioForum, 5(4), 153-166.
28. Khan, S., Siddique, R., Sajjad, W., Nabi, G., Hayat, K. M., Duan, P. & Yao, L. (2017). Biodiesel Production From Algae to Overcome the Energy Crisis. Journal of Biosciences, 24, 163-167.
29. König, A. (2010). Compatibility of the SAFE FOODS Risk Analysis Framework with the legal and institutional settings of the EU and the WTO. Food Control, 21, 1638–1652.
30. Mafata, M. (2017). The effect of grape temperature on the phenolic extraction and sensory perception of Méthode Cap Classique wines. (Master’s thesis). Retrieved October 15, 2017, from https://www.researchgate.net/publication/319041211_The_effect_ of_grape_temperature_on_the_phenolic_extraction_and_sensory_perception_of_ Methode_Cap_Classique _wines
31. Melamed, P., Gong, Z., Fletcher, G. & Hew, C. L. (2002). The Potential Impact of Modern Biotechnology on Fish Aquaculture. Aquaculture, 204(3), 255-269.
32. Miraglia, M., Berdal, K.G., Brera, C., Corbisier, P., Holst-Jensen, A., Kok, E.J., et al. (2004). Detection and traceability of genetically modified organisms in the food production chain. Food and Chemical Toxicology, 42, 1157–1180.
33. Mosier, N. S. & Ladisch, M. R. (2009). Modern Biotechnology: Connecting Innovations in Microbiology and Biochemistry to Engineering Fundamentals, New York, USA: John Wiley&Son, Inc.
34. Oliveira, F. F., Puga, S. & Ferrerira, C. (2013). Yeast: World's Finest Chef, UK: Intechweb.
35. Ojumu, T. V. & Solomon, B. O. (2004). Production of Polyhydroxyalkanoates, a bacterial biodegradable polymer. African Journal of Biotechnology, 3(1), 18-24.
36. Ozkardas, D. (2017). Not Just in Our Fridge: Genetically Modified Orchids in Our Houses?. The Ohio State University. Retrieved October 10, 2017, from https://u.osu.edu /lewandowski.52/2017/12/07/not-just-in-our-fridge-genetically-modified-orchids-in-our-houses/
37. Paoletti, C., Flamm, E., Yan, W., Meek, S., Renckens, S., Fellous, M. & Kuiper, H. (2008). GMO risk assessment around the world: Some examples. Trends in Food Science & Technology, 19, S70-S78.
38. Ratledge, C. & Kristiansen, B. (2006). Basic Biotechnology: UK, Cambridge University Press.
39. Sherman, J. H., Choudhuri, S. & Vicini, J. L. (2015). Transgenic proteins in agricultural biotechnology: The toxicologyforum 40th annual summer meeting. Regulartory Toxicology and Pharmacology, 73, 811-818.
40. Smith, J. E. (2009). Biotechnology (5th ed.). UK: Cambridge University Press.
41. Hill, A. E. (2015). Brewing Microbiology: Managing Microbes, Ensuring Quality and Valorising Waste. UK: Woodhead Publishing.
42. Talaro, K. P. & Chess, B. (2015). Foundations in Microbiology (9th ed.). NY: McGraw-Hill Education.
43. Traxler P. & Furet, P. (1999). Strategies toward the Design of Novel and Selective Protein Tyrosine Kinase Inhibitors. Pharmacology & Therapeutics, 82, 195-206.
44. Voet, D. and Voet, J. G. (2004). Biochemistry (3rd ed.). New York, USA: John Wiley&Son, Inc.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองโดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา หรือฝึกอบรม เพื่อพัฒนาและวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ และทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานมอบหมายของผู้เรียน
การทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา

อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและอุปกรณ์สื่อการสอนที่ใช้ให้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย