เทคโนโลยีขนมอบ

Bakery Technology

ศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบของแป้งสาลี ลักษณะกายภาพและเคมีของแป้งสาลี สมบัติและหน้าที่ต่าง ๆ ของวัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมอบ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำขนมอบ การผลิตผลิตภัณฑ์ขนมอบที่ใช้ยีสต์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผงฟู และขนมอบแบบต่าง ๆ การควบคุมคุณภาพ และการเสื่อมเสียของผลิตภัณฑ์ขนมอบ สุขลักษณะและการจัดโรงงานเบเกอรี่
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมอาหารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบของแป้งสาลี ลักษณะกายภาพและเคมีของแป้งสาลี สมบัติและหน้าที่ต่าง ๆ ของวัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมอบ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำขนมอบ การผลิตผลิตภัณฑ์ขนมอบที่ใช้ยีสต์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผงฟู และขนมอบแบบต่าง ๆ การควบคุมคุณภาพ และการเสื่อมเสียของผลิตภัณฑ์ขนมอบ สุขลักษณะและการจัดโรงงานเบเกอรี่
Fundamental study on structure, types and composition of wheat; physicochemical properties of wheat flour; properties and functional of bakery raw materials; instruction of bakery tools and equipments; production of yeast dough products, leavening products and other types of bakery products; quality control and spoilage of bakery products; hygienic and bakery plant design.
- อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
š1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผิอื่น
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1 ประเมินวิธีการปฏิบัติที่ดีก่อนและหลังการในภาคปฏิบัติ และการควบคุมระหว่างกระบวนการผลิตในภาคปฏิบัติ
2 การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน ไม่ทุจริตในการสอบ การตรงต่อเวลาในการส่งรายงาน และการเข้าชั้นเรียนโดยนักศึกษาที่เข้าห้องเรียนสายเกิน 15 นาที จะถูกตัดคะแนนครั้งละ 1 คะแนน
3 ประเมินการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของสาขาวิชา สวมเสื้อปฏิบัติการทุกครั้ง นักศึกษาที่ไม่สวมเสื้อปฏิบัติการจะถูกตัดคะแนน ครั้งละ 1 คะแนน
š3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ š3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การฝึกปฏิบัติการทำผลิภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเบเกอรี โดยเน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริงบรรยายเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปในการทำผลิตภัณฑ์เบเกอรี การเตรียมวัตถุดิบเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเบเกอรี การเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางด้านแป้งหรือที่เกี่ยวกับเบเกอรี
1 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2 สอบข้อเขียนเกี่ยวกับความรู้ในเรื่องแป้งและวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตภัณฑ์เบเกอรี อธิบายความแตกต่างของการเลือกใช้แป้งในผลิตภัณฑ์เช่น เค้ก คุกกี่ ขนมปังและอื่นๆ
3 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตร เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
4.ทำงานกลุ่ม และการเขียนรายงานปฏิบัติการ
š3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ š3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1.มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3 มีปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เบเกอรีควบคู่กับหั.วข้อภาคบรรยาย
4 อธิบายวิธีการฝึกเป็นลำดับขั้นตอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา แนะนำเทคนิคระหว่างการฝึกปฏิบัติ คอยกำชับนักศึกษาให้ติดตามการควบคุมบางขั้นตอนการผลิตที่สำคัญ และวิจารณ์คุณภาพผลิตภัณฑ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
5.ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำปฏิบัติการ และเขียนรายงานของปฏิบัติการนั้นๆ โดยสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพิ่มเติม เพื่อนำมาเขียนวิจารณ์ผลการทดลอง ซึ่งรายงานมีเนื้อหาประกอบด้วยหัวข้อปฏิบัติการ หลักการหรือทฤษฎี วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ วิธีการทดลอง (ตามที่ปฏิบัติจริง) ผลการทดลอง วิจารณ์และสรุปผลการทดลอง เอกสารอ้างอิง
6.มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วยหัวข้อปฏิบัติการ หลักการหรือทฤษฎี วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ วิธีการทดลอง (ตามที่ปฏิบัติจริง) ผลการทดลอง วิจารณ์และสรุปผลการทดลอง เอกสารอ้างอิง
6.มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. การสอบย่อย การเขียนรายงานปฏิบัติการ และสอบปลายภาค
2. ประเมินทักษะและการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติ และคุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้าย
3. ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางด้านเบอเกอรี เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
˜4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
š4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
š4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
1 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม 2 ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา โดยนักศึกษาจะต้องส่งรายงานปฏิบัติการภายใน 1 สัปดาห์ถัดไปก่อนเวลา 16.00 น.
š5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
š5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
š5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
˜5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1 บรรยายวิธีการคำนวณสูตรการผลิต ร้อยละของอัตราการผลิตและคำนวณต้นทุนการผลิต 2 มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ทางการแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตรที่มีการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
1. ทดสอบการคำนวณสูตรการผลิต ร้อยละของอัตราการผลิตและต้นทุนการผลิต 2. ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางการแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตร เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
˜6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1.ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม 2. ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม 3. สอบภาคปฏิบัติและประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information . ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผิอื่น 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหาร 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT113 เทคโนโลยีขนมอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 4.1, 4.3 - 4.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5 เปอร์เซ็นต์
2 2.1,2.2,2.3,2.4,3.3,4.1,4.2,5.2 5.4,5.6 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค การนำเสนองาน/การรายงาน/สอบปฏิบัติ การสอบปลายภาค ทุกสัปดาห์ 4,6,10 8 14,15 16 5% 5% 20% 20% 45 %
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2532. ข้าวสาลี: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กราฟฟิคแอนด์ปริ้นติ้งเซ็น

เตอร์, กรุงเทพฯ. 371 น.

อรอนงค์ นัยวิกุล. 2547. ข้าว: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

กรุงเทพ

American Association of Cereal Chemists (AACC) .1983. Approved methods. The

Association, St. Paul Minnesota. 950 p

A0AC. 1983. Approved Method of the American Association of Cereal Chemists.

Vol. I, II American of Cereal Chemists, Inc. st. Paul, Minnesota. 1,140 p.

Chung, O.K. 1989. Cereal lipids. In Handbook of Cereal Science and Technology

Marcel Dekker Inc.,New York. 25p.
กล้าณรงค์ ศรีรอต และ สิทธิโชค วัลลภาทิตย์. 2539. แป้งดัดแปร. อุตสาหกรรมเกษตร. (1) : น. 51-57 กีฏและสัตววิทยา. 2533. คำแนะนำการใช้สารฆ่าแมลงและสัตว์ศัตรูพืช. กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตร และสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 55 น. งามชื่น คงเสรี. 2531. คุณภาพการหุงต้มรับประทานและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง การปรับปรุงคุณภาพข้าว, ระหว่างวันที่ 13-14 ตุลาคม 2531 ณ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี . ปทุมธานี. น. 43-54 จิรภา พงษ์จันตา ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน นิรมล อุตมอ่าง และ สิริพร แก้วสุริยะ. 2537. การวิเคราะห์คุณภาพข้าวสาลีเพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสำหรับประเทศไทย. รายงานการประชุมทางวิชาการสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่11 สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง. 9 น. พัชรี ตั้งตระกูล อรอรนงค์ นัยวิกุล วิภา สุโรจนะเมธากุล และวารุณี วารัญญานนท์. 2549. ผลการโม่เปียก โม่แห้ง และโม่แบบผสมต่อสมบัติแป้งข้าวศูนย์สารนิเทศทางอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 3 หน้า เสนอ ร่วมจิต. 2525. คุณสมบัติทางกายภาพ และทางเคมีบางประการของข้าวเจ้าพันธุ์ต่างๆ ที่มีผลต่อลักษณะของ เส้นก๋วยเตี๋ยว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท บันทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 180 น. ละม้ายมาศ ขาวไชยมหา. 2538. คุณภาพข้าวสาลีไทยกับการทำผลิตภัณฑ์. รายงานการ ประชุมวิชาการธัญพืช เมืองหนาว, ครั้งที่ 5. เชียงใหม่. น. 38-52 อรอนงค์ นัยวิกุล. 2534. การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางกายภาพของขนมจีนในกระบวนการผลิต. รายงาน ผลการวิจัย สาขาอุตสาหกรรมเกษตร การประชุมวิชาการครั้งที่ 29 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. น. 375-384.

 
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2 ผลการทดสอบย่อย
2.3 ผลการสอบปฏิบัติการ
2.4 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้

ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการ

เรียน เพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบปฏิบัติการ การส่งรายงานปฏิบัติการสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาค
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงรูปแบบของการปฏิบัติการ ให้มีความหลากหลายและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน