ฟิสิกส์พื้นฐาน 1

Fundamental Physics 1

1.1 เพื่อให้ทราบและเข้าใจเรื่องเวกเตอร์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาค จุดศูนย์กลางมวล การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิเลส กลสาสตร์ของไหล ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น และคลื่นกล
1.2. มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ ประยุกต์วิชาฟิสิกส์พื้นฐาน 1 กับชีวิตประจำวัน วิชาชีพ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้
1.3. มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
1.   เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและนำไปประยุกต์ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ 2.   เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตร
ศึกษาเกี่ยวกับเวกเตอร์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาค จุดศูนย์กลางมวล การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นกล
3 ชั่วโมง
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ที่ร่วมสมัย  ในช่วงของการทักทายในต้นชั่วโมงหรือก่อนที่จะเช็ครายชื่อ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. ประเมินผลจากการทำงานเป็นกลุ่ม ความสัมพันธ์ในกลุ่ม 3. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การใช้ Active learning เป็นตัวร่วมเนื้อหาการสอนเพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหามากขึ้น  และมอบหมายงานแก่นักศึกษาให้ค้นคว้าเกี่ยวเรียนเทคโนโลยีร่วมสมัยที่สัมพันธ์กับเนื้อหาวิชาในหัวข้อนั้นๆ และนำมาอภิปรายในภายหลัง
1. ประเมินผลจากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค และสอบย่อย ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี 2. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนและการบ้าน 3. ประเมินจากงานเดี่ยวที่เป็นการค้นคว้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีร่วมสมัยภายใต้กรอบเนื้อหาวิชา ฟิสิกส์พื้นฐาน 1 ที่นักศึกษาไปค้นคว้า
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
นักศึกษาได้ร่วมอภิปรายงานของตนและเพื่อน ๆ สำหรับงานค้นคว้า
1. วัดผลจากการประเมินผลงานและการนำเสนอ 2. สังเกตพฤติกรรมในการคิดวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาที่ได้รับ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การให้นักศึกษาได้นำเสนองานสำหรับงานค้นคว้า
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ที่ร่วมสมัย ในช่วงของการทักทายในต้นชั่วโมงหรือก่อนที่จะเช็ครายชื่อ การใช้ Active learning เป็นตัวร่วมเนื้อหาการสอนเพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหามากขึ้น และมอบหมายงานแก่นักศึกษาให้ค้นคว้าเกี่ยวเรียนเทคโนโลยีร่วมสมัยที่สัมพันธ์กับเนื้อหาวิชาในหัวข้อนั้นๆ และนำมาอภิปรายในภายหลัง นักศึกษาได้ร่วมอภิปรายงานของตนและเพื่อน ๆ สำหรับงานค้นคว้า ไม่มี การให้นักศึกษาได้นำเสนองานสำหรับงานค้นคว้า ไม่มี
1 FUNSC105 ฟิสิกส์พื้นฐาน 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยและเวกเตอร์ การเคลื่อนที่และกฎของนิวตัน สอบครั้งที่ 1 6 20%
2 งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน จุดศูนย์กลางมวล การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สอบครั้งที่ 2 10 15 %
3 การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล สอบครั้งที่ 3 13 15 %
4 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นกล สอบครั้งที่ 4 17 15 %
5 ผลงานที่มอบหมาย การบ้าน รายงาน การนำเสนองานค้นคว้าและการอภิปราย 16 15 %
6 จิตพิสัย เช็คชื่อเข้าเรียนเป็นหลัก 1-17 10 %
7 การบ้าน ส่งแบบฝึกหัดท้ายบท 1-17 10 %
เอกสารประกอบการสอนของผู้สอน
คลิปจาก youtube จากแหล่งที่น่าเชื่อถือนำมาประกอบการบรรยาย
แบบประเมินการสอนของผู้สอนโดยนักศึกษา
1.  ประเมินการสอนของตนจากการสังเกตอารมย์ของผู้เรียนต่อการสอนครั้งนั้น ๆ  2.  วิเคราะห์ผลการประเมินการสอนตนเองที่นักศึกษาประเมินไว้ว่าสอดคล้องกับวิธีการสอนของตนที่ดำเนินการที่ผ่านมา เพื่อหาวิธีการปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น
ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินข้างต้นตามข้อ 2.กลยุทธ์การประเมินการสอน
ขอทางหลักสูตรประเมินผลสัมฤทธิรายวิชานี้จากการสอบถามนักศึกษาโดยตรงในความเข้าใจและความพึงพอใจต่อการนำไปประยุกต์ในสาขาของตนเองต่อไป และแจ้งกลับมาที่ผู้สอนทราบเพื่อการปรับปรุงต่อไป
ภายหลังจากหลักสูตรประเมินผลสัมฤทธิรายวิชานี้จากการสอบถามนักศึกษาโดยตรงในความเข้าใจและความพึงพอใจแล้วให้แจ้งกลับมาที่ผู้สอนเพื่อการปรับปรุงแผนการสอนในครั้งถัดไปให้ดีขึ้น