ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics 2 for Engineers

1  เข้าใจหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของหลักแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์  ฟิสิกส์ยุคใหม่
2  สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและเลือกใช้หลักการ ทฤษฎีเพื่อใช้แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3  สามารถนำความรู้ในรายวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรไปประยุกต์ใช้ในการคำนวณปัญหาทางวิศวกรรม
4  มีทักษะในการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
1.  ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.  ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
3.  สามารถนาความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
4.  สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของหลักแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์  ฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ รวมถึงการสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
 
The study of elements of electromagnetism, A.C. circuits, fundamental electronics, optics and modern physics. Teaching focuses on the main principles of physics including with skills of analytic and calculation for solving engineering problems.
3 ชั่วโมง
  1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
  1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ·
  1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำคุณประโยชน์
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ ได้แก่

การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าชั้นเรียน ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในระหว่างการเรียน

ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ·
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  o
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบ Tutorial Group
3. การสอนแบบสาธิต
4. การสอนแบบบรรยาย
1. การบ้าน หรือ งานที่มอบหมาย
2. ข้อสอบระหว่างเรียน (อัตนัย)
3.ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค (อัตนัย)
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  ·
1. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การฝึกตีความ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม  ·
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรมที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
1)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำคุณประโยชน์ 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) 2. การสอนแบบ Tutorial Group 3. การสอนแบบสาธิต 4. การสอนแบบบรรยาย 1. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม 2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรมที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ 1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
1 FUNSC103 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10 %
2 2.1, 3.2 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4, 6, 10 20 %
3 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 30 %
4 2.1, 3.2, 5.2 แบบฝึกหัดประจำบท (การบ้าน) ทุกสัปดาห์ 10%
5 2.1, 3.2 การสอบปลายภาค 17 30 %
1. แผนกหนังสือพิเศษด้านอิเล็กทรอนิกส์. (2538). อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด.
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2547). ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์. ปทุมธานี: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
3. ยัง, ฮัก ดี. และ ฟรีดแมน, โรเจอร์ เอ. (2548). ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา 2 [University physics with modern physics] (ปิยพงษ์ สิทธิคง, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า.
4. เรย์มอนด์ เอ เซอร์เวย์ และ จอห์น ดับบิล เจเวตต์. (2559). ฟิสิกส์ 2 [Physic for scientists and engineers] (ประธานบุรณศิริ และคณะ, ผู้แปล; กีรยุทธ์ ศรีนวลจันทร์ม, ผู้เรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เซนเกจ เลินนิ่ง อินโด-ไชน่า จำกัด.
5. Boylestad, R., and Nashelsky L. (1998).  Electronic Devices and Circuit Theory (7th ed.).  New Jersey: Prentice Hall.
6. Cutnell, J.D. and Johnson K.W. (2001). Physics (8th ed.). United States of America, NJ : Jonh Wiley & Sons.
7. Floyd, T.L. (2012). Electronic devices : electron flow version (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
8. Halliday, D., Resnick, R., & Walker, J. (2007). Fundamentals of Physics (8th ed.). New York: John Wiley & Sons. Inc.
9. Hirsch, A.J., Martindale, D., Bibla, S. (2001). Nelson Physics 11. Canada: Nelson Canada Elhi.
10. Serway, R.A., and Jewett, J.W. (2010). Physic for scientists and engineers II (8th ed.). United States: Thomson Brooks/Cole.
11. Young, H.D., Freedman, R.A. (2012).  University physics with modern physics (13th ed.). U.S.A.: Addison-Wesley.
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
แผนกวิชาวิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการสอน เพื่อพิจารณาผลการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน
แผนกวิชา ฯ กำหนดให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ดำเนินการดังนี้

ปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินผลการสอน ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการวัดและประเมินผล ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
แผนกวิชามีระบบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอน

และในระหว่างภาคเรียน จะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้รับทราบผลการเรียนรู้ รวมทั้งก่อนสอบปลายภาคจะมีการแจ้งผลคะแนนสะสมให้นักศึกษาได้ทราบ
ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และวางแผนการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป