ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics 1 for Engineers

เข้าใจเรื่องเวกเตอร์ แรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติเชิงกลของสารและกลศาสตร์ของไหล เข้าใจเรื่องความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้นเบื้องต้น คลื่นและคลื่นเสียง มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ ประยุกต์วิชา ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกรกับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้ มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
1.  ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.  ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
3.  สามารถนาความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
4.  สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สมบัติของสสาร กลศาสตร์ ของไหล ความร้อน การสั่นและคลื่น โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ การสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
    The study of mechanics of particles and rigid body, properties of matter, fluid mechanics, heat, vibrations and waves. Teaching focuses on the main principles of physics including with skills of analytic and calculation for solving engineering problems.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ·
1.4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้ำชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ·
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  o
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษำมีการตั้งคาถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  ·
1. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย
2. แบบฝึกหัด และการนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม  ·
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษำมีการตั้งคาถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ 2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ 1. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน 2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน 1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม 2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
1 FUNSC101 ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค ปลายภาค 1 - 15 60%
2 2.1, 3.2 การทดสอบย่อย หรือ ทดสอบในชั้นเรียน 1 - 15 15%
3 4.3, 5.2 งานที่มอบหมาย และ/หรือ แบบฝึกหัดประจำบท 1 - 15 15%
4 1.2, 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 15 5%
5 1.2, 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1 - 15 5%
1. แผนกหนังสือพิเศษด้านอิเล็กทรอนิกส์. (2538). อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด.
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2547). ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์. ปทุมธานี: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
3. ยัง, ฮัก ดี. และ ฟรีดแมน, โรเจอร์ เอ. (2548). ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา 2 [University physics with modern physics] (ปิยพงษ์ สิทธิคง, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า.
4. เรย์มอนด์ เอ เซอร์เวย์ และ จอห์น ดับบิล เจเวตต์. (2559). ฟิสิกส์ 2 [Physic for scientists and engineers] (ประธานบุรณศิริ และคณะ, ผู้แปล; กีรยุทธ์ ศรีนวลจันทร์ม, ผู้เรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เซนเกจ เลินนิ่ง อินโด-ไชน่า จำกัด.
5. Boylestad, R., and Nashelsky L. (1998).  Electronic Devices and Circuit Theory (7th ed.).  New Jersey: Prentice Hall.
6. Cutnell, J.D. and Johnson K.W. (2001). Physics (8th ed.). United States of America, NJ : Jonh Wiley & Sons.
7. Floyd, T.L. (2012). Electronic devices : electron flow version (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
8. Halliday, D., Resnick, R., & Walker, J. (2007). Fundamentals of Physics (8th ed.). New York: John Wiley & Sons. Inc.
9. Hirsch, A.J., Martindale, D., Bibla, S. (2001). Nelson Physics 11. Canada: Nelson Canada Elhi.
10. Serway, R.A., and Jewett, J.W. (2010). Physic for scientists and engineers II (8th ed.). United States: Thomson Brooks/Cole.
11. Young, H.D., Freedman, R.A. (2012).  University physics with modern physics (13th ed.). U.S.A.: Addison-Wesley.
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
2 กำรสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2 ติดตามงานที่มอบหมาย
3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
แผนกวิชา ฯ กำหนดให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ดำเนินการดังนี้

ปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินผลการสอน ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการวัดและประเมินผล ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
แผนกวิชามีระบบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน

และในระหว่างภาคเรียน จะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้รับทราบผลการเรียนรู้ รวมทั้งก่อนสอบปลายภาคจะมีการแจ้งผลคะแนนสะสมให้นักศึกษาได้ทราบ
ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และวางแผนการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป