การภาษีอากร 1

Taxation 1

1.1 เพื่อให้เข้าใจหลักการ วิธีการและความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี แหล่งรายรับของรัฐบาลความแตกต่างของรายรับอื่น ๆ ที่ไม่ได้มาจากการภาษีอากร
1.2 เพื่อให้ทราบถึงนโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
1.3 เพื่อศึกษาวิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร ศุลกากร ภาษีสรรพสามิต และภาษีเฉพาะอย่างอื่น ๆ
2.1 เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีจากสถานการณ์ตัวอย่าง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ทฤษฎีที่เรียนมาใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน และแสดงความคิดเห็นต่อวิธีการสอนของอาจารย์เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาและปรับปรุงรายวิชา โดยผ่านทางเวปไซด์ของสาขาการบัญชี (http://www.bacc.rmutl.ac.th)
ศึกษาหลักการ วิธีการและความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี แหล่งรายรับของรัฐบาลความแตกต่างของรายรับอื่น ๆ ที่ไม่ได้มาจากการภาษีอากร นโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร ศุลกากร ภาษีสรรพสามิต และภาษีเฉพาะอย่างอื่น ๆซึ่งรัฐอาจกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ
1 ชั่วโมง
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2  มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.4  มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
บรรยายเนื้อหาพร้อมสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ  และศึกษาจากกรณีตัวอย่าง

เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
 

ฝึกให้นักศึกษาให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการศึกษารายวิชานี้ เช่นการส่งงาน การเข้าเรียน ความรับผิดชอบในการทำงานที่มอบหมายให้
ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมและการเช็คชื่อเข้าเรียน ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมความมีวินัยและความซื่อสัตย์รายบุคคล และบันทึกการจัดส่งงาน
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี             โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การสอนแบบสาธิต  (การคำนวณภาษี)

มอบหมายกรณีศึกษาให้ศึกษาและวิเคราะห์ล่วงหน้าก่อนร่วมอภิปราย ถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
3. มอบหมายงานให้นักศึกษาเลือกข่าวหรือหัวข้อเพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียน  และให้ร่วมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว
2)    การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ และกรณีศึกษาที่มอบหมายให้

การประเมินการนำเสนอผลงาน

ประเมินจากการแสดงความเห็นในสื่อสังคมออนไลน์ที่มอบหมาย
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
)   ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
1)   ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
4.1   สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2  มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
 
2. มอบหมายงาน ข่าว บทความที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ และให้นำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน 
 
2  สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ             การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน
ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ภาษีอากรตามประมวลรัษฏากร 2562
2.1 ประมวลรัษฎากรและสรรพากรสาสน์
        2.2 ข้อหารือและแนวปฏิบัติของกรมสรรพากร
www.rd.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้และปัญญาดำเนินการดังนี้
4.1.1 อาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณาเนื้อหาและวัตถุประสงค์ในการสอบแต่ละครั้ง เพื่อพิจารณาว่าสอดคล้องกันหรือไม่
4.1.2 หลังจากสำเร็จวิชา Tax นักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกงาน ณ สถานประกอบการภายนอก อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ประจำหลักสูตรจะทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการด้านการสอบบัญชีที่ใช้นักศึกษาฝึกงานในการปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อวัดว่านักศึกษาสามารถนำผลสัมฤทธิ์ด้านปัญญาและความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้ดีเพียงใด โดยการสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์และงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง