สัมมนาทางการประมง

Seminar in Fisheries

1 มีความเข้าใจวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียงและการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ
2 มีทักษะในการนำเสนอรายงานอย่างถูกต้อง
3 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษา ค้นคว้าหาความก้าวหน้าทางวิชาการ
เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์และสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
การอภิปรายปัญหา การนำเสนอรายงาน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกี่ยวกับการประมง การนำเสนอรายงานทางวิชาการหรืองานวิจัย นำเสนอในที่ประชุมอย่างเป็นระบบ
จัดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบ
มีจรรยาบรรณ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย
- จะสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ
มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ
ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- นักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
 
 
 
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) โดย
- บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและทฤษฏี พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
- มอบหมายให้อ่านบทความวารสารทางวิชาการ พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน และส่งเป็นการบ้าน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์
 
 
 
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
-ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ
-โดยการใช้สื่อเป็นวีดีทัศน์และ มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกหาข้อมูล วิเคราะห์และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจใน การทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทำรายงาน และนำเสนองาน
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
- ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2,1.1.3, 1.1.4 การเข้าชั้นเรียน/ความสนใจ/ความตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 1.1.2, 1.1.3, 2.1.1, 2.1.2, 5.1.2, 5,1,3 รายงานผลการสัมมนา ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2, 4.1.2, 4.1.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 1.1.1, 2.1.1, 2.1.3, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.4, 5.1.3,6.1.1 การอภิปรายกลุ่มย่อย ตลอดภาคการศึกษา 25%
5 1.1.3, 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 5.1.3, 6.1.1 การจัดสัมมนากลุ่มใหญ่ 15-16 30%
6 5.1.1 สื่อที่ใช้ในการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
1. ตำราและเอกสารหลัก
1. เกษกานดา สภาพจน์. 2549. การจัดสัมมนา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
กรุงเทพมหานคร.
2.1 ไพพรรณ เกียรติโชติชัย. 2546. หลักการสัมมนา. บ. การศึกษา จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
2.2 ไพพรรณ เกียรติโชติชัย. 2548. การจัดการสัมมนาสู่ความเป็นเลิศ. บ. การศึกษา จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
2.3 สมเกียรติ ศรีจักรวาฬ. การวางแผนและการจัดการประชุมทางวิชาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
วารสารหรือเอกสารการวิจัยทางการประมง
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยร่วมรับฟังการสัมมนา รายงาน และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4