การฝึกปฏิบัติวิชาชีพเทคโนโลยีการพิมพ์

Professional Practice Printing Technology

นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติผลิตงานสิ่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง  ตามกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์  ตั้งแต่การวางแผนการผลิต การผลิตสิ่งพิมพ์ การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ การวิเคราะห์และการแก้ปัญหาการผลิตสิ่งพิมพ์
เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะปฏิบัติงานในขั้นตอนการพิมพ์  มาปรับใช้ในการผลิตสิ่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง สามารถวิเคราะห์และอธิบายวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการผลิตสิ่งพิมพ์ได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนและกระบวนการพิมพ์ การวางแผนการผลิตสิ่งพิมพ์ การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาการผลิตสิ่งพิมพ์
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1.  มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2.  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3.  มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.1.4.  เคารพสิทธิของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับมีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.2 ให้ความสำคัญกับวินัยและความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย ทั้งของตนเอง และกลุ่ม
1.2.3 ให้ความสำคัญกับการตรงต่อเวลา และคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
1.2.4 ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.1 พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของสถาบัน
1.3.2 มีการเคารพสิทธิของผู้อื่น
1.3.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.1.1 มีความรู้ในขั้นตอนและกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ 
2.1.2 รู้จักการการวางแผนการผลิตสิ่งพิมพ์
2.1.3. มีความรู้  เข้าใจในการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ในแต่ละกระบวนการ
2.1.4. สามารถวิเคราะห์และการแก้ปัญหาการผลิตสิ่งพิมพ์
2.2.1. ใช้การบรรยาย  โดยเน้นหลักการประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
2.2.2.  มอบหมายให้ทำรายงาน เน้นการเขียนเชิงวิชาการ
2.2.3.  จัดกิจกรรมการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบทักษะวิชาชีพ โดยใช้เกณฑ์ประเมินผลตามมาตรฐานวิชาชีพการพิมพ์
 
3.1.1.  พัฒนาความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 
3.1.2.  สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
3.1.3.  สามารถพัฒนาการคิดอย่างสร้างสรรค์ 
3.2.1.   การมอบหมายงานที่ส่งเสริมความคิดให้นักศึกษา 
3.2.2.   ส่งเสริมการเรียนรู้จากการคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
3.2.3.   ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3.3.1 การนำเสนอผลงานการปฏิบัติต่อคณะกรรมการ หรือบุคคลทั่วไป
3.3.2.   สังเกตพฤติกรรมการคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาในแต่ละกระบวนการได้
4.1.1.   มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.2.   พัฒนาศักยภาพของตนเองด้านวิชาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3.   มีความรับผิดชอบในพัฒนางานเดี่ยว และงานกลุ่มอย่างต่อเนื่อง
4.2.1.  จัดกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม ฝึกการวิเคราะห์ในกรณีศึกษาที่กำหนด
4.2.2.  มอบหมายงาน รายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3.   การนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
4.3.1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2.  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1.   สามารถใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนในการสื่อความหมายได้ถูกต้อง 
5.1.2   สามารถสรุปประเด็นจากการสื่อสารได้ถูกต้อง
5.1.3   สามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.4   สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม
5.1.5   สามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1.   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ในเว็บไซต์
5.2.2.   นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีศักยภาพ
5.3.1.   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2.   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44011006 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพเทคโนโลยีการพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2 2.1 –2.4 ทดสอบทักษะวิชาชีพ ด้านออกแบบ ด้านการพิมพ์สกรีน ด้านการพิมพ์ออฟเซท และด้านงานหลังพิมพ์ ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 1.1,1.2, 2.1, 4.1 – 4.2 2.1 –5.4 การนำเสนอ รายงาน ผลงานการสอบปฏิบัติ การส่งงานตามที่มอบหมาย ผ่านช่องทางออนไลน์ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.5, 4.1 การเข้าเรียนออนไลน์ และปฏิบัติการในมหาวิทยาลัย การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทั้งในระบบออนไลน์ และปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 20%
  -  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์  Printed Media ,สุรสิทธิ์  วิทยารัฐ :2549
    -  การออกแบบหนังสือพิมพ์และนิตยสาร, คนึง  เพชรสมัย :2541
    -  เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช      
     -  เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์  หน่วยที่ 5-10  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    -  เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    -  เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 8-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
     -  เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7  โดย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
https://tpqi-net.tpqi.go.th/home/occ/qualifications/PRT-PRE-2-216301-A
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การปรับเนื้อหาและเทคนิคการสอน
3.2   การกำหนดโจทย์ในการฝึกปฏิบัติ
3.2   การนำเกณฑ์การวัดผลสมรรถนะวิชาชีพมาปรับใช้ในการวัดผลภาคปฏิบัติ
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยคณะกรรมการในสาขาวิชา 
5.1   ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอน ให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชา  
5.2   พิจารณาการนำเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ในแต่ละด้านมาใช้ในการวัดผลการสอบทักษะ
5.3   ปรับปรุงรายวิชาทุก  1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
5.4   ปรับกระบวนการสอบวัดผล เพื่อให้มีความทันสมัย และสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ
5.5  เปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้มีแนวทางการสอน หรือ สอบ ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง