เครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส

Boiler and Gas Turbines

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับชนิดของเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส ระบบการควบคุมไอน้ำและการแจ้งเตือน การใช้กังหันไอน้ำในทะเล วัฏจักรของแก๊ส วัฏจักรเบรยตัน วัฏจักรแรงกิ้ง การทดสอบและปรับปรุงคุณภาพน้ำของเครื่องกำเนิดไอน้ำ การตรวจสอบหม้อไอน้ำ การบำรุงรักษาและปรับปรุงกังหันแก๊ส
ศึกษาเกี่ยวกับชนิดของเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส ระบบการควบคุมไอน้ำและการแจ้งเตือน การใช้กังหันไอน้ำในทะเล วัฏจักรของแก๊ส วัฏจักรเบรยตัน วัฏจักรแรงกิ้ง การทดสอบและปรับปรุงคุณภาพน้ำของเครื่องกำเนิดไอน้ำ การตรวจสอบหม้อไอน้ำ การบำรุงรักษาและปรับปรุงกังหันแก๊ส
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ 1.1.2 สามารถทำงานเป็นหมู่คณะและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.1.3 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ 
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การทำงานกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ 1.2.2  ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทาการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา 1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 การกระทำทุจริตในการสอบ 
 
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส สามารถใช้ความรู้และทักษะของเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้  แก้ไข
2.2.1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง 2.2.2 เน้นหลักการทางทฤษฏีของเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส และยกตัวอย่างการประยุกต์เครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊สในงานวิศวกรรมจริง เน้นการแก้โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานทางวิศวกรรมด้านเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส และมีอภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2   ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊สได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรม เครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊สหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้ เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ทางด้านเครื่องกำเนิดไอน้ำหลักการของเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊สใหม่ ๆ 
ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการสื่อสารต่อสังคมได้ ในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้อง กับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.3 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 4.1.4 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนและการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า 4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล  แก้ไข
4.3.1 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน 
 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิ ทธิ ภาพ 5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูล เช่น การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้  แก้ไข
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน         E- Learning 5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
5.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ  แก้ไข
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1, 2.2.2, 3.1.1, 3.1.2,3.1.3 5.1.1, 5.1.2 ,5.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 35% 35%
2 1.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 4.1.3 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบ คำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาเครื่องกำเนิดไอน้ำและกังหันแก๊ส
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
2.1 การสังเกตของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  แก้ไข
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ  แก้ไข