การภาษีอากร 2

Taxation 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และให้มีความรู้เรื่องการวางแผนภาษี
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร การยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และวางแผนภาษี
ศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ การวางแผนภาษี และจริยธรรมของวิชาชีพ
3
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
วิธีการสอน 


บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ

1.2.2 ทำแบบฝึกหัดจากข้อมูลจริง
นำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันมาบรรยายและสอดแทรกเป็นตัวอย่าง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
          1.3.2   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.3   สอบกลางภาค
ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานการวางแผนภาษี
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน ค้นคว้าทาง Internet เกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์พิเศษ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบแบบแผน มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ระหว่างวิชาการภาษีอากรเข้ากับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และการวางแผนอย่างถูกต้องตามหลักการของประมวลรัษฎากร
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน และการถามตอบ
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   ทำโจทย์พิเศษ
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการกรณีศึกษา
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ระหว่างหลักการการภาษีอากรและหลักบัญชีที่รับรองทั่วไป
3.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมจากการสะท้อนแนวคิด
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4   พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับชุมชนที่มหาวิทยาลัยตั้งอยู่
4.2.1   จัดการเรียนการสอนแบบ PjBL (Project base learning)
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรูปเล่มรายงาน
4.3.4    ประเมินจากประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3   พัฒนาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทำรายงานแสดงการเสียภาษี และการใช้
5.2.1   มอบหมายกรณีตัวอย่างซึ่งเน้นการคำนวณจากตัวเลข
5.2.2   นำข้อมูลที่ได้มาจากการคำนวณกรอกลงในระบบของกรมสรรพากรเพื่อจัดทำแบบแสดงรายการเสียภาษีจากจากเวปไซด์กรมสรรพากร
5.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค
5.3.2   แบบฝึดหัดในห้องเรียน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3
1 BACAC136 การภาษีอากร 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าเรียน 1-6 การเข้าเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ร้อยละ 10
2 ด้านความรู้ ทดสอบย่อย 1-6 50
3 ด้านทักษะ ทางปัญญา สอบปลายภาค 7 20
4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ นำเสนอผลงานกิจกรรมวิชาการภาษีอากร 2 1-6 20
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สอบกลางภาค สอบปลายภาค แบบฝึดหัดในห้องเรียน 1-6 -
ยุพดี  ศิริวรรณ
การบัญชีภาษีอากร ปรับปรงุใหม่ 2562 (264 หน้า)
 
เอกสารประกอบการสอนจากอาจารย์ผู้สอน
เว็บไซต์กรมสรรพากร
การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาในส่วนของนักศึกษาผู้เรียนในแต่ละกลุ่มนั้น ผู้สอนของทุกกลุ่มเรียนจะประชุมตกลงกันในกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อให้ได้รับผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาที่สอนในแนวทางเดียวกัน และนำมาวิเคราะห์เพื่อการวางแผนการปรับปรุงต่อไป
          กิจกรรมที่จะนำไปสู่การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาโดยนักศึกษา  ได้แก่
          1.1  ผู้สอนจัดกิจกรรมพบนักศึกษาเป็นกลุ่มซึ่งใช้กลุ่มที่ได้จัดไว้ในการมอบหมายงานกรณีศึกษา   เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในสาระเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
          1.2  ผู้สอนติดตามผลการมอบหมายงานของนักศึกษาแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน
          1.3  ผู้สอนมอบหมายให้ นักศึกษาแต่ละคนเขียนบันทึกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
          1.4  จัดให้มีการประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชาโดยใช้แบบประเมินโดยส่วนกลางก่อนสอบกลางภาค เพื่อให้ผู้สอนได้ทราบและสามารถปรับปรุงได้ในภาคการศึกษานั้น หากผลการประเมินพบว่าควรมีการปรับปรุง
การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนและผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการ ดังนี้
             2.1  การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนดำเนินการโดยให้ผู้สอนได้เข้าสังเกตการณ์การสอนของหมู่เรียนอื่น แล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันพร้อมข้อเสนอแนะ
          2.2  การประเมินการสอน โดยผู้ร่วมทีมการสอนร่วมกันออกข้อสอบและใช้ข้อสอบชุดเดียวกันทดสอบผู้เรียนเพื่อวัดผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านตามที่ระบุ
          2.3  การประเมินการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการทวนสอบข้อสอบก่อนนำไปใช้ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาและเห็นชอบข้อสอบก่อนนำไปใช้
การปรับปรุงการสอน ดำเนินการดังนี้
         จัดแผนการสอนให้ครอบคุลมกับเนื้อหาที่กำหนดไว้  และยกตัวอย่างการบันทึกบัญชีให้มากขึ้น ตลอดจนอัพเดทภาษีประเภทต่า่งๆ ให้สอดรับกับสถานการณ์โควิดที่ส่งผลกระทบในปัจจุบัน 
การปรับปรุงการสอน ดำเนินการดังนี้
          4.1  จัดให้มีการสัมมนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการพัฒนารายวิชา โดยนำผลการประเมินประสิทธิภาพรายวิชา ผลการประเมินการสอน ผลการสอบ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประกอบการพิจารณา
          4.2  จัดให้มีการวิจัยในชั้นเรียน หรือ การรายงานการปฏิบัติงานสอน ทุกสัปดาห์
จากผลการประเมินประสิทธิภาพในข้อ 1. และ ข้อ2. ดังกล่าวแล้วข้างต้น รวมทั้งการนำไปปรับปรุงการสอนในข้อ 3. แล้วนั้น เพื่อให้การสอนของรายวิชานี้มีคุณภาพอันนำไปสู่การผลิตบัณฑิตทางการบัญชีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชีและการเงิน ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          5.1  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน โดยการให้มีอาจารย์ผู้สอนเดิมอยู่อย่างน้อย ๑ คน แล้วจัดอาจารย์ผู้สอนใหม่เข้ามาหากสามารถดำเนินการได้ เพื่อให้ได้รับมุมมองใหม่จากอาจารย์ผู้สอนท่านใหม่
          5.2  ทบทวนและปรับปรุงหัวข้อการสอน กลยุทธ์การสอน วิธีการสอน วิธีการวัดผลและประเมินผล ฯลฯ ตามที่ได้รับจากผลการประเมิน