คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน

Mathematics and Statistics in Daily Life

1.1 เพื่อให้นำคณิตศาสตร์พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.2 เพื่อให้มีทักษะการคิดและคำนวณทางคณิตศาสตร์
1.3 เพื่อให้มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล  เก็บรวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูล  และแปลความหมาย
1.4 เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้คณิตศาสตร์เพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ
ศึกษาเกี่ยวกับตรรกศาสตร์เพื่อการตัดสินใจ   คณิตศาสตร์การเงิน  ระเบียบและวิธีดำเนินการทางสถิติ สถิติพรรณนา  ความน่าจะเป็น  การวิเคราะห์สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับชีวิตประจำวัน
  3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องศษ 1212โทร 3200
    3.2  e-mail; viang_moo@hotmail.comเวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนโดยใช้เทคนิคบทบาทสมมติ  
- เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)  
การสังเกต 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
- การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
- การสอนแบบบรรยาย  
- ข้อสอบอัตนัย
- ข้อสอบปรนัย
- แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
-  การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
- การฝึกตีความ
- ข้อสอบอัตนัย
- แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
-  การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)  
- โครงการกลุ่ม
- การนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC101 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.คุณธรรมจริยธรรม (1.1,1.3,1.4) 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ (4.1,4.4) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.ความรู้ (2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 6,12 20%
3 2.ความรู้ (2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การสอบกลางภาค 9 30%
4 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (5.2) การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
5 2.ความรู้ (2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การสอบปลายภาค 17 30%
 แผนกคณิตศาสตร์.  2554. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์และสถิติกับชีวิตประจำวัน
              แผนกคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 
              มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
สายชล  สินสมบูรณ์ทอง (2550).สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติประยุกต์ 
             คณะวิทยาศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
 ชัชวาล  เรืองประพันธ์ (2544). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ 
             มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
 ประไพศรี  สุทัศน์ ณ อยุธยา และ พงศ์ชนัน  เหลืองไพบูลย์ (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
             บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด กรุงเทพฯ.
บทความเกี่ยวกับสถิติ  จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
-  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
-  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา