สัญญาณและระบบ

Signal and System

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณและระบบแบบเวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การจําแนกชนิดของสัญญาณและระบบตัวอยางของสัญญาณและระบบแบบต่างๆ การวิเคราะหสัญญาณเชิงเวลาตอเนื่องและระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลาดวยอนุกรมฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผันฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผัน ลาปลาส สถาปตยกรรมของระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลา การสุมและทฤษฎีการสุม สัญญาณและระบบเชิงเวลาเต็มหนวยการแปลงและการแปลงผกผันแบบ z ตัวอยางสัญญาณและระบบทางอิเล็กทรอนิกสและสื่อสาร
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณและระบบแบบเวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การจําแนกชนิดของสัญญาณและระบบตัวอยางของสัญญาณและระบบแบบต่างๆ การวิเคราะหสัญญาณเชิงเวลาตอเนื่องและระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลาดวยอนุกรมฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผันฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผัน ลาปลาส สถาปตยกรรมของระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลา การสุมและทฤษฎีการสุม สัญญาณและระบบเชิงเวลาเต็มหนวยการแปลงและการแปลงผกผันแบบ z ตัวอยางสัญญาณและระบบทางอิเล็กทรอนิกสและสื่อสาร
ศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณและระบบแบบเวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การจําแนกชนิดของสัญญาณและระบบตัวอยางของสัญญาณและระบบแบบต่างๆ การวิเคราะหสัญญาณเชิงเวลาตอเนื่องและระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลาดวย อนุกรมฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผันฟูริเยร การแปลงและการแปลงผกผัน ลาปลาส สถาปตยกรรมของระบบเชิงเสนไมแปรตามเวลา การสุมและทฤษฎีการสุม สัญญาณและระบบเชิงเวลาเต็มหนวยการแปลงและการแปลงผกผันแบบ z ตัวอยางสัญญาณและระบบทางอิเล็กทรอนิกสและสื่อสาร
-
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ในการเรียน การทำแบบฝึกหัด และทำรายงานอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องมือสื่อสารต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการแก้ปัญหาโจทย์แบบต่างๆ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
การใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน การวิเคราะห์เวกเตอร์และการประยุกต์ใช้ ทฤษฎีของอนุกรมฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์ และการนำไปใช้วิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า ทฤษฎีการแปลงลาปลาซ และการนำไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา
2.3.1 ถาม-ตอบ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทางทฤษฎี2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
3.2.1 อธิบายหลักการและทฤษฎีต่างๆ
3.2.2 ยกตัวอย่างการแก้ปัญหาแบบต่างๆ
3.2.3 ให้การบ้านตามเนื้อหาวิชา
3.2.4 ทบทวนเนื้อหาที่นักศึกษายังไม่เข้าใจ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ทฤษีต่างๆ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
3.3.2 วัดผลจากสอบเก็บคะแนน และการสอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
4.2.1 ทำงานเดี่ยว
4.2.2 ทำงานกลุ่ม
4.3.1 จากการบ้าน
4.3.2 การสอบ
4.3.3 งานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร เช่น การส่งอีเมล์
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 3 4 5 3 2 4 2 1 2
1 ENGEL101 สัญญาณและระบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 บทที่ 2,3 บทที่ 4,5 บทที่ 6,7,8 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 8 13 17 10% 25% 10% 25%
2 ทุกบท การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
1.1 Signals and Systems (2nd Edition) by Alan V. Oppenheim Pearson; 2 edition (August 16, 1996)
1.2 สัญญาณและระบบ SIGNALS AND SYSTEMS รศ.เอก ไชยสวัสดิ์ ปรับปรุงครั้งที่ 2 พฤศจิกายน 2543
2.1 ใบความรู้ทฤษฎีสัญญาณและระบบ
2.2 ใบเฉลยแบบฝึกหัด
2.3 ใบความรู้ตาราง และสูตรช่วยคำนวณ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia Youtube
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
-
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ความตั้งใจเรียนของผู้เรียน การถาม-ตอบ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
-
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย ผลจากการทำแบบฝึกหัด และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน ผลการเรียน ผลงานของนักศึกษา
4.2 การทวนสอบวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ