ระบบสมองกลฝังตัว
Embedded Systems
1.1 เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสถาปัตยกรรมของสมองกลฝังตัว
1.2 เข้าใจโครงสร้างของไมโครคอนโทรเลอร์ การจัดสรรหน่วยความจํา
1.3 เข้าใจการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อพวง อุปกรณ์ควบคุมและการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
1.4 เข้าใจการประมวลผลแบบกระจาย
1.5 รู้จักระบบปฏิบัติการ และสถาปัตยกรรมซอฟแวร
1.6 สามารถโปรแกรมและการทดสอบหาข้อผิดพลาดโปรแกรมได้
1.7 เข้าใจการเชื่อมต่อในระบบเครือข่าย
1.8 สามารถทําต้นแบบอย่างเร็ว และนําไปใช้ในงานควบคุมได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความ
เข้าใจในเทคโนโลยี ไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควร
มีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยี ไมโครโปรเซสเซอร์ ที่
ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและสถาปัตยกรรมของสมองกลฝังตัว โครงสร้างของไมโครคอนโทรเลอร์ การจัดสรรหน่วยความจําและการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่อพ่วง อุปกรณ์ควบคุมและการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกแบบต่างๆ การประมวลผลแบบกระจาย การเชื่อมต่อในระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการ และสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ การโปรแกรมและการทดสอบหาข้อผิดพลาด การ ทําต้นแบบอย่างเร็วและการนําไปใช้ในงานควบคุม
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐานเพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทาง
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้
เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมจำลองการทำงาน เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงาน
จริงได้
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้
เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมจำลองการทำงาน เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงาน
จริงได้
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ
มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และ
โครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และ
โครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ
การนำไปปะยุกต์ใช้งาน
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์
การนำไปปะยุกต์ใช้งาน
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ
วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์
ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
4.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
4.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
4.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน และ ทำรายงาน
โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
4.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
4.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.1.1 มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานได้ เป็น
อย่างดี
5.1.2 สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทา งานทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้ดี
อย่างดี
5.1.2 สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทา งานทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้ดี
5.2.1 สาธิตการปฏิบัติการ
5.2.2 ปฏิบัติการตามใบงานและงานที่มอบหมาย
5.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
5.2.2 ปฏิบัติการตามใบงานและงานที่มอบหมาย
5.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
5.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
5.3.2 ประเมินผลการท างานในภาคปฏิบัติ
5.3.2 ประเมินผลการท างานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรมจริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | .ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความ รับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGEL112 | ระบบสมองกลฝังตัว |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1, 2.2, 3.1, 5.1,5.2 | สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค | 8 5,13 18 | 15% 30% 15% |
2 | 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 5.1,5.2 | การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
3 | 1.3, 4.1,4.4 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1. EMBEDDED ANDROID DEVELOPMENT สู่เส้นทางนักพัฒนา, วิรุฬห์ ศรีบริรักษ์
2. เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว Embedded Technology, ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง
3. Embedded Microcontroller, สุเมธ มามาตย์
4. การติดตั้งและใช้งาน Raspberry Pi, นพ มหิษานนท์
5. พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino และ Raspberry Pi, ดร. กอบเกียรติ สระอุบล
6. Embedded C Programming and the Atmel AVR +CD (P), Richard Barnett, Larry O'Cull, Sarah Cox
7. Fundamentals of Microcontrollers and Applications in Embedded Systems (With the PIC18 Microcontroller Family) +CD (H), Ramesh S. Gaonkar
8. Linux TCP/IP Networking for Embedded Systems 2ED (P) + CD ROM, Thomas F. Herbert
9. Embedded Systems Architecture: A Comprehensive Guide for Engineers and Programmers 1ED (H), Tammy Noergaard
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4