การติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร

Electrical System Installation Inside and Outside Building

เกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ในการติดตั้งไฟฟ้า ศึกษาเกี่ยวกับสายไฟฟ้าแต่ละชนิดและคุณสมบัติ ศึกษาเกี่ยวกับหลอดไฟฟ้าแต่ชนิดและคุณสมบัติ ศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า ศึกษาเกี่ยวกับระบบสายดิน ศึกษาเกี่ยวกับการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร

 
ศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือ  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินสายภายในอาคาร  เครื่องวัดและอุปกรณ์ในการตรวจสอบ  การคำนวณสายแยกและสายประธาน  การวางแผนแบบสร้างตู้สวิตซ์บอร์ด  และการสร้างองค์ความรู้และสร้างอาชีพได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการป้องกันอุบัติภัยในการปฏิบัติงานติดตั้งไฟฟ้าเครื่องมืออุปกรณ์และวัสดุในงานติดตั้งไฟฟ้า มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า การติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้า ระบบสายดิน การต่อสาย การเดินสายไฟฟ้าทั้งภายในอาคารและภายนอกอาคาร  
3
1.1.1  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.2  มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ
1.1.3   ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม
                        1.1.4  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
                        1.1.5  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
                        1.1.6  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ
ความสำคัญ
                      1.1.7  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น
มนุษย์
1.2.1 บรรยาย  สาธิต  พร้อมยกตัวอย่าง
1.2.2 อภิปรายแบบกลุ่ม
1.2.3 ปฏิบัติตามใบงาน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ภาคทฤษฎี  และปฏิบัติ
1.3.3 รายงาน
1.3.4  การสอบปลายภาค
                        การออกแบบระบบไฟฟ้า วงจรมอเตอร์และออกแบบระบบ ไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร โรงงานอุตสาหกรรม การคิดค่าแรงงานและการประมาณราคาในการปฏิบัติงาน ปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร
บรรยาย สาธิตอภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และงานมอบหมายให้
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
                     3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1 บรรยายเนื้อหารายวิชา
3.2.2 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติการจริง
3.3.1 ประเมินผลจากผลงานสำเร็จ
3.3.2 การสอบกลางภาค
3.3.3 การสอบปลายภาค
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4.1.3 แสดงภาวะผู้นำ  และผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถนำเสนอแนวความคิดอย่างสร้างสรรค์
4.1.5 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming)  เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.2.2 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
4.3.1 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่ม
                        5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และ
นำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2  พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา และการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย
5.2.2 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
5.3.1 รายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.3.2 ทักษะการพูดในการแสดงการคิดวิเคราะห์
1. มีความสามารถในการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ และการประยุกต์ใช้ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 2. มีทักษะในการพัฒนาและดัดแปลงใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ สาหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงานที่ดาเนินการ 3. มีทักษะในการร่างแบบสาหรับงานสาขาวิชาชีพเฉพาะ และสามารถนาไปสู่ภาคปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สาธิตการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ 2. มอบหมายงานตามใบฝึกปฏิบัติ (Job Sheet) 3. เตรียมใบฝึกปฏิบัติที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเชิงทักษะในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4. ฝึกทาการร่างแบบสั่งงานจริงในสาขาวิชาชีพเฉพาะ 5. ฝึกนักศึกษาให้มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน
1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์โดยการบันทึกเป็นระยะๆ 2. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 3. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในและนอกอาคาร
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะปัญญา ทักษะความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
1 ENGEE149 การติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย - การเข้าเรียนและการตรงต่อเวลา - การแต่งกาย - ความมีมารยาทต่ออาจารย์ผู้สอน ให้คะแนน 1-16 10 %
2 ปฏิบัติงาน ให้คะแนน 1-16 30%
3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ให้คะแนนตามผลการสอบ 8,16 กลางภาค 30% ปลายภาค30%
1.  ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช  :  การป้องกันระบบไฟฟ้า
2.  ไวพจน์  ศรีธัญ : การติดตั้งไฟฟ้า
3.   ราเชษฐ์  บุตรโพธิ์  :  ความรู้เบื้องต้นกับการป้องกันฟ้าฝ่า
4.   ลือชัย  ทองนิล  :  การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานการไฟฟ้า
5.   สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย  ในพระบรมราชูปถัมภ์  :  มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย
6.   ศุลี  บรรจงจิตร  :  หลักการและเทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง
7.  http://www.chontech.ac.th/~electric/e-learn/unit4/unit4.htm
8. http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/electric/Elec-4.htm
9. http://www.snr.ac.th/elearning/v303/v303/page03.html
10. http://www.mwtech.ac.th/~phugun/basicelec/ex7.htm
11. http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/topweek11.htm
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้  ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของคณะโดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- ผลการสอบ
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์สำหรับงานอาชีวอนามัย ได้แก่ ความรู้เฉพาะด้านวิศวกรรมโยธา เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหการ เคมี สิ่งแวดล้อม มาประยุกต์ใช้ในงานด้านความปลอดภัย เพื่อป้องกันอันตรายต่างๆ ที่เกิดจากสภาพการทำงาน