ประวัติจิตรกรรม

History of Painting

1. รู้ความหมายและแนวความคิดของงานจิตรกรรมแต่ละยุคสมัย

2. เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้าน รูปแบบ และเทคนิควิธีการของงานจิตรกรรมในประวัติศาตร์จนถึงยุคปัจจุบัน

3. สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ประวัติของผลงานจิตรกรรมชิ้นสำคัญ ทั้งในโลกตะวันตก และเอเชียได้

4. สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานจิตรกรรมในแต่ละลัทธิต่างๆ และในแต่ละประเภทได้

5. เห็นคุณค่าของผลงานจิตรกรรมในประวัติศาสตร์เพื่อมีองค์ความรู้ต่อยอดในทางปฏิบัติได้ต่อไป
1. นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานจิตรกรรมในประวัติศาตร์จนถึงยุคปัจจุบัน

2. นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงานประวัติศาตร์จิตรกรรมในอตีตจนถึงยุคปัจจุบันในแต่ละยุคสมัยได้

3. สามารถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานจิตรกรรม

4. นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ทางจิตรกรรมไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเฉพาะตนต่อไปได้
ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับประวัติของจิตรกรรมยุคสำคัญ ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันโดยเน้นศึกษารูปแบบ เนื้อหา เทคนิควิธีการทางศิลปะของผลงานศิลปินคนสำคัญของแต่ละยุคสมัย
Study the history of painting though each important ear is examined focusing on form, concepts, techniques and methods of key artists.
1 ชม.
 
พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา   มีความรักในวิชาเรียน  รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาทางด้านทัศนศิลป์      มีการศึกษาค้นคว้าให้ประสบผลสำเร็จโดยความเพียร   มีความซื่อสัตย์  สามารถศึกษาในรายวิชาร่วมกันด้วยความรักความสามัคคี
- ให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบรายบุคคล ได้ทดลองบรรยายเชิงวิชาการได้มีการกำหนดเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในประวัติจิตรกรรม ผลงานชิ้นสำคัญของศิลปินในแต่ละยุคสมัยได้                                                                                                                                                                                                                    
- ต้องเข้าชั้นเรียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน

- นักศึกษาต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน 
ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีความตั้งใจศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาประวัติจิตรกรรม
-นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายเกี่ยวกับประวัติจิตรกรรม

-นักศึกษามีความรู้จากการค้นคว้าและบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานจิตรกรรมชิ้นสำคัญในประวัติศาสตร์ทางจิตรกรรมได้

-มีความรู้ทางด้านทคนิควิธีการของงานศิลปินในลัทธิต่างๆของจิตรกรรม

-มีความรู้ในเรื่องของ แนวความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม ทั้งในโลกตะวันตกและในเอเชีย

-นักศึกษาสามารถประยุกต์ไปใช้ต่อในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมต่อไปได้
- ให้ความรู้กับนักศึกในเชิงทฤษฏี ความสำคัญ และความหมายของทัศนศิลป์ของประวัติจิตรกรรม

- บรรยายผ่านระบบออนไลน์ Microsofe team โดยมีเนื้อหาแนวคิด พร้อมภาพประกอบ เกี่ยวกับงานจิตรกรรมชิ้นสำคัญในประวัติศาสตร์ที่ควรศึกษา เป็นต้นแบบเชิงสุนทรียศาสตร์ตั้งแต่อดีตมาจนถึงยุคปัจจุบัน

- ให้นักศึกษาได้แบ่งกลุ่มทำรายงานและบรรยายจากการค้นคว้าประวัติจิตรกรรมวิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานของศิลปินร่วมกัน

- วิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การเข้าบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อแนวความคิดและรูปแบบ ในงานจิตรกรรมในประวัติศาสตร์จนถึงจิตรกรรมร่วมสมัย 
 
- ประเมินจากการนำเสนอบรรยายในชั้นเรียนออนไลน์และการหาข้อมูลในเชิงวิชาการของนักศึกษา ทั้งงานกลุ่ม และส่วนบุคคล โดยกำหนดหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวกับประวิติจิตรกรรม
 - ประเมินจากการสามารถวิเคราะห์ผลงานจิตรกรรมของศิลปิน มีความรู้เกี่ยวกับแนวความคิด รูปแบบและเทคนิค วิธีการที่นำเสนอของานศิลปะในแต่ละยุคสมัยได้
 - ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนและรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความสามารถในการค้นคว้าข้อมูลและการพูดเพื่อนำเสนอต่อชั้นเรียนได้
 - ประเมินจากผลคะแนน สอบกลางภาค และปลายภาค  - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียน วิพากษ์ วิจารณ์ และการเข้าชั้นเรียน
- นักศึกษาต้องมีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายและความสำคัญเกี่ยวกับประวัติจิตรกรรมแต่ละยุคสมัย

- นักศึกษาต้องมีความสามารถวิเคราะห์ ในการแสดงออกทางจิตรกรรมของศิลปินในแต่ละยุคสมัย มีความเข้าใจในทัศนธาตุต่างๆรวมไปถึงการแทนค่าในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งศิลปินในแต่ลัทธิทางจิตรกรรมนำเสนอผ่านผลงานอันหลากหลาย
 
- นักศึกษาสามารถนำความรู้ในเชิงทฤษฎี เพื่อพัฒนาไปใช้ประโยชน์ในการลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตนอย่างเป็นเฉพาะตัว 
- กำหนดให้นักศึกษาได้มีทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับประวัติจิตรกรรม ผลงานของศิลปินแต่ละยุคสมัย

- กำหนดให้มีการวิจารณ์ ผลงานจิตรกรรมของศิลปินในแต่ละยุคสมัย เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างเพื่อนในชั้นเรียน

- แนะนำให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยศึกษาจากศิลปินสำคัญในยุคสมัยต่างๆมาจนถึงยุคปัจจุบัน 
 
- ประเมินจากการนำเสนอทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับงานจิตรกรรมยุคสมัยต่างๆได้

- ประเมินจากการเขียนบทความ รายงาน ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย

 - ประเมินจากทัศนะส่วนบุคคลที่มีคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ต่องานจิตรกรรม
- สามารถวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
 - มีความเคารพตนเองและผู้อื่น โดยสามารถศึกษาค้นคว้า บรรยาย และนำเสนอรายงานเป็นกลุ่มได้

 - มีความรัก ความสามัคคีกันในชั้นเรียน
- ให้นักศึกษาสามารถ รับฟังคำวิจารณ์จากผู้อื่นได้

- สอนให้เห็นความสำคัญของความแตกต่างกันไปแต่ละบุคล

- กำหนดการบรรยาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างความสามัคคี
 - ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

 - ประเมินผลจากความรู้  ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน

 - ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม 
- เพิ่มทักษะความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

- ให้ความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอบรรยายความรู้ผ่านระบบออนไลน์ ยกตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

- นำเสนอภาพผลงานจิตรกรรม อธิบายเทคนิควิธีการสร้างสรรค์ผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

- มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถนำเสนอผ่านห้องเรียนระบบออนไลน์ได้
- ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากการหาข้อมูลผลงานจิตรกรรมที่สร้างสรรค์ในแต่ละยุคได้อย่างเข้าใจ ทั้งในด้านเนื้อหาและเทคนิควิธีการสร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศได้
 - ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไม่มีการประเมินในข้อนี้
ไม่มีการประเมินในข้อนี้
ไม่มีการประเมินในข้อนี้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน (1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงาน (1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ (2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง (3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA163 ประวัติจิตรกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความรู้ความเข้าใจของประวัติจิตรกรรม ตั้งแต่ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคสัจนิยม สามารถนำเสนอ บรรยาย แลกเปลี่ยนความรู้ถึงผลงานชิ้นสำคัญทางประวัติศาสตร์ตามที่กำหนดได้ 1-8 20
2 สอบกลางภาค นำเสนอรายบุคคล ทดสอบความรู้ความเข้าใจประวัติจิตรกรรมตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงยุคสัจนิยม 9 20
3 มีความรู้ความเข้าใจในประวัติจิตรกรรมลัทธิบากศ์นิยมจนถึงจิตรกรรมร่วมสมัยในยุคปัจจุบันรวมถึงจิตรกรรมในอารยธรรมตะวันออกและในประเทศไทย นำเสนอ บรรยาย กลุ่ม หรือรายบุคคล เกี่ยวกับผลงานศิลปะชิ้นสำคัญของศิลปินในประวัติของจิตรกรรมตามยุคสมัยที่กำหนด 9-15 20
4 สอยปลายภาค นำเสนอบรรยายรายบุคคล ทดสอบความรู้ความเข้าใจในประวัติจิตรกรรมลัทธิบากศ์นิยมจนถึงจิตรกรรมร่วมสมัยในยุคปัจจุบันรวมถึงจิตรกรรมในอารยธรรมตะวันออกและในประเทศไทย ผ่านระบบออนไลน์ 17 30
5 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการพูดคุย กิจกรรมร่วมในชั้นเรียน ความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา 1-17 10
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่20. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2552 รศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์อัมรินทร์ ปริ้นติ้ง, 2550 คอตติงตัน เดวิด. ศิลปะสมัยใหม่:ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพ:โอเพ่นเวิลด์ส, 2554 สุธี คุณาวิชยานนท์. จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ:บ้านหัวแหลม, 2546
ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือประวัติศิลปะตะวันตก .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 หนังสือศิลปะร่วมสมัยไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย, 2558  
หนังสือประวัติจิตรกรรมตะวันตก
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นในเนื้อหานั้น     - นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์     - ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาค หรือสาขาวิชา
 จัดประชุมคณะอาจารย์  ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
- สรุปผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา  - ประชุมคณะอาจารย์แจ้งผลการประเมิน    แสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการสอน  - จัดประชุม สัมมนาคณะอาจารย์เพื่อพัฒนาเทคนิคใหม่เกี่ยวกับการสอน 
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา  - มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และผลสอบ          - ให้นักศึกษาตรวจสอบคะแนน    ผลคะแนนจากฝ่ายทะเบียนได้
- นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น    คะแนนสอบของนักศึกษา   การประชุมสัมมนานำมา สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป