การพูดในชุมชน

Public Speaking

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภท  รูปแบบ กระบวนการ  กลยุทธ์  ศิลปะการพูด มารยาทในการสื่อสาร ฝึกทักษะการพูดในที่ชุมชนในโอกาสต่างๆ โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษา ฝึกทักษะการพูดในที่ชุมชนในโอกาสต่างๆ โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การเรียนรู้ประเภท  รูปแบบ กระบวนการ  กลยุทธ์  ศิลปะการพูด มารยาทในการสื่อสาร ฝึกทักษะการพูดในที่ชุมชนในโอกาสต่างๆ โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา เน้นความรู้ความเข้าใจในประเภท  รูปแบบ กระบวนการ  กลยุทธ์  ศิลปะการพูด มารยาทในการสื่อสาร และฝึกทักษะการพูดในที่ชุมชนในโอกาสต่างๆ โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน 
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาฝึกในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การวิเคราะห์บริบทจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน
3.1.1 การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการพูดในที่ชุมชน
3.1.2 ทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และบริบทของวัฒนธรรมสากล
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย 
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาและตัวอย่างจากสถานการณ์จริง
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เฉพาะที่กำหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4.1.2 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม รวมถึงการเป็นผู้ฟังที่ดี
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกันระดมสมองในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
5.1.1 ความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการพูดในที่ชุมชนในสถานการณ์ต่าง ๆ
5.1.2 ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการพูดในที่ชุมชนในบทเรียน
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการทำสื่อประกอบการพูด
5.2.3 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการพูดในที่ชุมชนในสถานการณ์ต่าง ๆ
5.2.4 ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ
5.3.1 การทดสอบย่อย / สอลกลางภาค / สอบปลายภาค
5.3.2 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการพูดของนักศึกษา
5.3.3 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-5 สอบกลางภาค 8 10%
2 หน่วยที่ 6-8 สอบปลายภาค 17 10%
3 หน่วยที่ 1-8 แบบฝึกหัด / กิจกรรม / งานมอบหมาย Final Performance ตลอดภาคการศึกษา 70%
4 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. Dale, P. & Wolf, J. C. 2006. Speech Communication Made Simple. New York: Pearson Longman.
เอกสารประกอบการสอนวิชาการพูดในที่ชุมชน
2. Harrington, David and Charles Le Beau. 2009. Speaking of Speech (Basic Presentation Skills for Beginners) Student Book. New Edition. Macmillan.
3. Richards, Jack C. with Jonathan Hull and Susan Proctor. 1991. New Interchange (English for International Communications. Cambridge University Press.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์