การเงินธุรกิจ

Business Finance

๑.๑  เพื่อให้รู้แนวคิด ความหมายของการเงินธุรกิจ  และเป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ
        ๑.๒  เพื่อให้รู้และเข้าใจเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน  การพยากรณ์  และการควบคุมทางการเงิน
        ๑.๓  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์งบการเงินและพยากรณ์ทางการเงินได้
        ๑.๔  เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน  และเข้าใจในการจัดการเงินทุนหมุนเวียน
        ๑.๕  เพื่อให้รู้และเข้าใจการจัดทำงบจ่ายลงทุน
        ๑.๖  เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ  และโครงสร้างทางการเงิน
        ๑.๗  เพื่อให้รู้และเข้าใจการจัดทำต้นทุนของเงินทุน
        ๑.๘  เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษาให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง ๕ด้านตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๒.๑  พัฒนาการเขียนวิเคราะห์  ฝึกหัดการสรุปผล  การเขียนอธิบาย  การตีความ
        ๒.๒  เพิ่มการใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์งบการเงิน
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ  เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ  เทคนิคในการวิเคราะห์  การพยากรณ์  และการควบคุมทางการเงิน  การจัดการทุนหมุนเวียน  งบจ่ายลงทุน  วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาของผู้สอน โดยประมาณ ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๑.๑   คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
               ๒)  มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ                สังคม ส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
               ๓)  มีความเคารพต่อกฏระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององคืกรและสังคม
๑)  กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกายตามระเบียบ การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตาม               เวลาที่กำหนด มีวินัยตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ต่อการสอบ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม                            และสิ่งแวดล้อม มีน้ำใจมีความเสียสละต่อส่วนรวม
                 ๒)  บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม                                     จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  มีจิตสำนึกสาธารณะ
                           ๓)  จัดกิจกรรมในรายวิชา ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
๑)  ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษา
               ๒)  สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมายการมีส่วนร่วมในการ                             นำเสนองาน
               ๓)  ประเมินจากการปฏิบัติตนในการสอบ
                   ๔)  ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
๑)  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด ความหมายของการเงินธุรกิจ  และเป้าหมายของการจัดการทางการเงิน  เครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน  การพยากรณ์และการควบคุมทางการเงิน  เงินทุนหมุนเวียน  วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ  โครงสร้างทางการเงินและต้นทุนของเงินทุน และสามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ ได้อย่างเมาะสม
               ๒)  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา เช่น  ความรู้ด้านเศรษฐกิจ  สถิติ  คณิตศาสตร์
                            
๑)  การสอนแบบกรณีศึกษา  รวมถึงการบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษาจากรายงานการเงินของธุรกิจที่เปิดเผยข้อมูลในเวปไซด์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
               ๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงบการเงินของธุรกิจจริง ในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อใช้ประกอบการเรียนและทำแบบฝึกหัด
              ๓)  การสอนโดยการอภิปรายกลุ่ม และให้นักศึกษาวิเคราะห์จากโจทย์ปัญหา ตัวอย่างงบการเงินจริง สุ่มตัวอย่างกลุ่มมาอภิปรายซักถามในห้องเรียน
๑)  สอบกลางภาค
               ๒)  สอบปลายภาค
                ๓)  สอบย่อย
               ๔)  ความถูกต้องของการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาจากสถานประกอบการจริง/งานที่มอบหมาย
๑)  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล ปละประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ข้อมูลเกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจ อ่านและอธิบายฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน กระแสเงินสดของกิจการในภาพรวมและสามารถสรุปผลเพื่อรายงาน
๑)  บรรยาย ยกตัวอย่าง ให้นศ.ค้นคว้า และรายงานหน้าชั้นเรียน
                             ๒)  ฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์ปัญหาสถานประกอบการจริง กรณีศึกษา นำเสนอในชั้นเรียน 
                 ๓) เชิญวิทยากรจากสถาบันการเงินภายนอกมาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์การเงินในปัจจุบัน
                             ๔)  ให้นักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์รายงานการเงิน วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุน ธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจ หรือ กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย และ นำเสนอในชั้นเรียน 
 
๑)  สอบกลางภาค
               ๒)  สอบปลายภาค
               ๓)  การตอบปัญหาในชั้นเรียน การแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดและปัญหาต่างๆจากสถานประกอบการ          จริง
                             ๔)  คุณภาพของงาน รายงานการวิเคราะห์งบการเงิน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และรายงาน การนำความรู้ทางการเงินธุรกิจประยุกต์ใช้กับ สถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน ได้
๔.๑   ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา
                             ๑)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตารม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้เหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
        ๔.๒  วิธีการสอน
               ๑)  มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่มย่อย กรณีศึกษากลุ่ม ละ  3 - 5 คน ในการระดมความคิดและทำงานร่วมกัน
               ๒)  อภิปรายกลุ่มย่อยจากกรณีศึกษา สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี ของวัฒนธรรมต่าง ๆ
๑)  ประเมินผลจากการรายงาน การระดมสมอง การทำกิจกรรมกลุ่ม
               ๒)  ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
                             ๓)  นักศึกษาในกลุ่มประเมินผล
๑)  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เช่น ใช้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งบการเงิน  วิเคราะห์ค่าของโครงการลงทุน นโยบายและการจ่ายเงินปันผล ในการอธิบายความแตกต่าง  ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รวมถึงการวิเคราะห์โครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสมและรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบอย่างชัดเจน
๑)  สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม
               ๒)  จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
                             ๓)  มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
                 ๔)  บูรณาการกับวิชาการจำลองทางธุรกิจ ในการคำนวณต้นทุนสินค้า และจัดทำงบกำไรขาดทุน โดยใช้โปรแกรม excel
๑)  การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
               ๒)  ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
               ๓)  การวิเคราะห์  การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา  และแบบฝึกหัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑,๒,๓,๕ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ๙ ๑๘ ๓๐% ๓๐%
2 ๓,๔,๕ รายงานกลุ่ม/นำเสนอ งานเดี่ยว/การวิเคราะห์/ตอบปัญหาในขณะเรียน สุ่มเป็นรายสัปดาห์ ๒๐% ๑๐%
3 ๑,๒,๓,๔,๕ สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การมีส่วนร่วมในห้องเรียน ความมีวินัย ตรงเวลา ในการเข้าเรียน สุ่มเป็นรายสัปดาห์ ๑๐%
        - การเงินธุรกิจ ผู้เรียบเรียง ดร.พวงทอง วังราษฏร์
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  การวิเคราะห์งบการเงิน
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลวรรณ พิมพ์แพทย์
- การจัดการการเงิน ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญพิมล ลีโนทัย
         -  www.sec.or.th , www.settrade.com , www.fap.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลการสอบของนักศึกษา   และจากงานกลุ่มการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา และตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
         ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา  การทำกรณีศึกษา ได้ทำการปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอน ตามผลการประเมินของนักศึกษาในภาคเรียนที่ผ่านมา โดยเพิ่มวิธีการการถ่ายทอดความรู้ด้วยที่หลากหลายมากขึ้น เพิ่มกรณีศึกษา และบทความวิจัย เพื่อประกอบการอธิบายให้เข้าใจง่ายขึ้น และมีการบูรณาการกับรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการตลาดเช่น รายวิชา การจำลองธุรกิจ เพื่อให้นศ.ได้นำความรู้ไปคำนวนต้นทุนสินค้าและจัดทำงบกำไรขาดทุน
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
         ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
นำผลการประเมินข้อ ๑ ข้อ ๓ ข้อ ๔ มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เรื่อง ผู้สอน ตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อส