ภูมิสังคมวัฒนธรรมอาเซียน

Social Geography and Culture of ASEAN

เมื่อศึกษาตามกระบวนการเรียนรู้ของรายวิชานี้อย่างครบถ้วนแล้ว แล้วผู้เรียนจะเกิดความรู้ทักษะ และทัศนะคติ ในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับการรวมตัวของกลุ่มประเทศตามแนวคิดภูมิภาคนิยม
1.2 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน
1.3 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียน
1.4 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
1.5 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1.6 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
1.7 เพื่อให้นักศึกษารู้ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิก
1.8 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจประวัติศาสตร์ประเทศสมาชิกอาเซียนโดยสังเขป
1.9 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจประเทศและองค์การคู่เจรจาอาเซียน
1.10 เพื่อให้นักศึกษาสามารถกาหนดบทบาทของตนในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองอาเซียน
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.1 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
การรวมตัวของกลุ่มประเทศตามแนวคิดภูมิภาคนิยม พัฒนาการของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิก ประวัติศาสตร์ประเทศสมาชิกอาเซียนโดยสังเขป ประเทศและองค์การคู่เจรจาอาเซียน และความเป็นพลเมืองอาเซียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน
- แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ส่วนตัวและอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีระเบียบ วินัย อดทน ขยัน ชื่อสัตย์ ใฝ่รู้ สู้งาน รับผิดชอบ สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.3 เคารพและชื่นชมมรดกของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตะวันออกเฉียงใต้และประเทศคู่เจรจา ทั้งวัฒนธรรมความเชื่อและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายและร่วมกันอภิปรายความรู้เกี่ยวกับข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่สำคัญในอาเซียนซึ่งเป็นแต่ละประเทศสมาชิกล้วนมีพื้นฐานศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และฮินดู
2. กาหนดให้นักศึกษา ทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่สำคัญในอาเซียนซึ่งเป็นแต่ละประเทศสมาชิกล้วนมีพื้นฐานศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และฮินดู
1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกในชั้นเรียน ความตรงต่อเวลา และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด
2) ประเมินจากปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบวัดความรู้
3) ประเมินผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. เสนอแนะแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนศึกษา
2. การบรรยาย อภิปราย การทำกิจกรรมกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ การสัมมนาอาเซียนศึกษา และอื่นๆ
3. ค้นคว้านอกห้องเรียนในการศึกษาเนื้อหาอาเซียนศึกษา โดยจัดทำเป็นรายงานและนำเสนอผลการศึกษาเป็นรายกลุ่ม
4) การเรียนรู้แบบร่วมมือและเรียนรู้ร่วมกัน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและผู้สอนเป็นผู้สรุปเพิ่มเติม
 
1. ตรวจผลงาน
2. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ดังนี้ การทดสอบในชั้นเรียน การเขียนเรียงความ การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. สังเกตความสามารถในการร่วมอภิปราย การถามตอบในชั้นเรียน
4. การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียนเป็นรายเดี่ยวและกลุ่ม
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ รวมถึงประวัติศาสตร์ของประเทศสมาชิกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศคู่เจรจา สภาวการณ์อาเซียนในปัจจุบัน
3.2 มีความสามารถแก้ปัญหา พึ่งพาตนเอง และมีทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
3.3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดเชื่อมโยง สมเหตุสมผล เพื่อนาความรู้ ที่ได้ศึกษาไปใช้ในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ฝึกให้นักศึกษาทำงานอย่างเป็นระบบ มองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงในมิติต่าง ๆ อย่างสอดคล้อง สมดุล จนสามารถเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมระดับต่าง ๆ และใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม
1. ค้นคว้านอกห้องเรียน ทำเป็นรายงานและนาเสนอผลการศึกษาเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม โดยศึกษาและวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน
2. อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนและนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเชื่อมโยงกับมิติทางการพัฒนาต่อไป
1. ตรวจผลงาน
2. สังเกตความสามรถในการร่วมอภิปรายและการนำเสนอผลงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมกับสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่ม ทักษะการแก้ปัญหา
4.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.3 พัฒนาทักษะมนุษยสัมพันธ์พร้อมสู่อาเซียน
4.4 พัฒนาทักษะจิตอาสา จิตสาธารณะ ความรับผิดชองต่อสังคมและพัฒนาท้องถิ่น
1. จัดกิจกรรมจิตอาสาอาเซียน
2. มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่มเพื่อเห็นคุณค่าการทำงานร่วมกันเป็นทีม
3) การนำเสนอผลงานจากการร่วมอภิปรายกลุ่ม
1) ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยประเด็นกำหนด
2) สังเกตการนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ตรวจผลงานรายงานการศึกษาค้นคว้า
5.1 ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการจัดทำรายงาน การนำเสนอในชั้นเรียน
2) ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา ทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร ทักษะในการใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
1. บรรยายเนื้อหาโดยอาจารย์ผู้สอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ประกอบการสอน และการบรรยายเพิ่มสอดคล้องกับเนื้อหาประจำบท
2. จัดกิจกรรมประกอบการสอน เช่น
-การเขียนเรียงความการวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 1 บทความ และเรียงความเรื่องพลเมืองอาเซียน 1 ครั้ง
-กิจกรรมทายปัญหาอัตลักษณ์และสัญลักษณ์อาเซียน 10 ประเทศ 1-2 ครั้ง
- การตอบคำถามประจำบทในชั้นเรียนทุกครั้งเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
-การแสดงบทบาทสมมุติการผู้นำประเทศ 5 ประเทศในการกล่าวสุนทรพจน์ในวันจัดตั้งองค์การอาเซียน (แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรม) 1 ครั้ง
-มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่อหรือเว็บไซต์ต่างๆ
-ฝึกวิเคราะห์ข้อมูลเนื้อหา
- จัดการทดสอบแบบปรนัยในชั้นเรียน 2 ครั้ง
-นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. สังเกตความสามารถในการสื่อสาร
2. ตรวจสอบความเหมาะสมในการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยี
3. ตรวจผลงาน แบบทดสอบ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามความเหมาะสม
4. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 2.1, 3.2 การอภิปราย 3 - 5
4 2.1, 3.2 กรณีศึกษา 1, 2, 5, 10 - 12
5 1.3, 2.1 การสอบปลายภาค
6 1.3, 2.1, 3.2, 4.1, 5.1 โครงงาน/การรายงาน
ธดา สิทธิ์ธาดา. เอกสารประกอบการสอนวิชาอาเซียนศึกษา. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์, 2557
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (2551). มารู้จักอาเซียนกันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอราวัณการพิมพ์
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (2552). บันทึกการเดินทางอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: วิธิดา แอนิเมชั่น.
กองอาเซียน 1 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (2553). แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY BLUPRINT). กรุงเทพมหานคร: เพจเมคเกอร์.
กองอาเซียน 3 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (2554). แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: คาริสมา มีเดีย.
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (2554). อาเซียนไฮไลท์ 2554 (ASEAN Hight Lights 2011). กรุงเทพมหานคร: เพจเมคเกอร์.
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. (มปป). ASEAN Mi Ni Book. กรุงเทพมหานคร: มปพ.
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2552). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Economic Community: AEC). กรุงเทพมหานคร: มปพ.
วิทย์ บัณฑิตกุล. (2555). มารู้จักประชาคมอาเซียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สถาพรบุ๊ค.
Association of Southeast Asian Nations. (2009). Roadmap for an ASEAN Community. Jakarta Indonesia: ASEAN Secretariat.
- กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. <http://www.mfa.go.th/web/3019.php>.
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. <http://www.dtn.go.th>.
- สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. <th.wikipedia.org/>.
- สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. <www.aseanthailand.org/>.
- สำนักงานเลขาธิการอาเซียน. <www.aseansec.org/>.
- AEC ศูนย์ข้อมูลความรู้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. <www.thai-aec.com/>.
กฏฃนก สุขสถิตย์. สังคม วัฒนธรรม ประชาคมอาเซียน 10 ชาติ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์แสงดาว, 2555.
เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคโบราณ จากมุมมองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. เชียงใหม่: สาขาวิชาประวัติศาตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ. 500 ปี กาลานุกรมสยามอยุธยาถึงไทยบางกอก กับลัทธิอาณานิคมตะวันตกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-อาเซียน: 2054-2544. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้า ประเทศไทย, 2556.
ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. อาเซียนศึกษา ASEAN STUDIES. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, 2556.
ดวงธิดา ราเมศวร์. ประวัติศาสตร์และราชวงศ์อาเซียตะวันออกเฉียงใต้ ลาว สยาม พม่า กัมพูชา เวียดนามมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์.: กรุงเทพฯ :ทัพอักษร การพิมพ์, มปป.
ธีระ นุชเปี่ยม. (บรรณาธิการ). เรียนรู้สู่อาเซียน. กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 2557.
นิโคลาส ทาร์ลิ่ง. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์. เล่มที่ 1. แปลจาก The Cambridge History of Southeast Asia Volume One โดย มัทนา เกษกมล และมัทนี เกษกมล. กรุงเทพฯ: บริษัท ปริ๊นท์โอโซน จำกัด, 2552.
นิโคลาส ทาร์ลิ่ง. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์. เล่มที่ 2. แปลจาก The Cambridge History of Southeast Asia Volume Two โดย มัทนา เกษกมล และมัทนี เกษกมล. กรุงเทพฯ: บริษัท ปริ๊นท์โอโซน จำกัด, 2552.
นิโคลาส ทาร์ลิ่ง. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์. เล่มที่ 3. แปลจาก The Cambridge History of Southeast Asia Volume Three โดย มัทนา เกษกมล และมัทนี เกษกมล. กรุงเทพฯ: บริษัท ปริ๊นท์โอโซน จำกัด, 2552.
นิโคลาส ทาร์ลิ่ง. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์. เล่มที่ 4. แปลจาก The Cambridge History of Southeast Asia Volume Four โดย มัทนา เกษกมล และมัทนี เกษกมล. กรุงเทพฯ: บริษัท ปริ๊นท์โอโซน จำกัด, 2552.
บุญชัย ใจเย็น. อาเซียนบวกสาม. กรุงเทพ ฯ : ปราชญ์ ,2556.
ปิยมิตร ปัญญา. วิถีไทยในเงาอาเซียน. กรุงเทพ ฯ : มติชน ,2555.
ไพศาล หรูพาณิชย์กิจ. เอเชียตะวันออก บนเส้นทางสู่การเป็นประชาคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
มิลตัน ออสบอร์น. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สังเขปประวัติศาสตร์. แปลจาก Southeast Asia: An Introductory History โดย มัทนา เกษกมล พรรณงาม เง่าธรรมสาร และ ธนาลัย (สุขพัฒน์ธี) ลิมปรัตนคีรี. กรุงเทพฯ: หจก. สานักพิมพ์ตรัสวิน (ซิลค์เวอร์มบุคส์), 2544.
วงเดือน ทองเจียว. ประวัติศาสตร์ 10 ประเทศอาเซียน. กรุงเทพ ฯ : แสงดาว ,2556.
วรรณา วุฒฑะกุล และวินัย สิทธินุกูลชัย. ภูมิภาคศึกษา วัฒนธรรมเอเชีย. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพ ฯ : ปาเจรา ,2549.
สำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรมประชาสัมพันธ์, 2552.
สีดา สอนสี. ความร่วมมือส่วนภูมิภาคแนวใหม่สาหรับประชาคมอาเซียน. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์, 2555.
สีดา สอนสี และคณะ. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมือง เศรษฐกิจและการต่างประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ(พ.ศ.2540-2549). กรุงเทพฯ, 2551.
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์. (บรรณาธิการ). อาเซียนในแง่มุมใหม่. กรุงเทพ ฯ : เฟรม-อัพ ดีไซน์ ,ม.ป.ป.
Donald E. Weatherbee. International Relations in Southeast Asia : The Struggle for Autonomy. แปลจาก อาเซียน : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์, กรุงเทพ : สำนักพิมพ์แสงดาว, 2556.
Joseph S.G. ความรู้เบื้องต้นกลุ่มประเทศอาเซียน. กรุงเทพ ฯ : ดวงกมล ,2555.
นาวาตรี อิทธิ ดิษฐบรรจง. แนวทางการใช้ธงอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ,2555.
สำนักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ. การศึกษาการเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: สำนักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ, 2554.
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัท เพจเมคเกอร์ จำกัด, 2556.
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ASEAN Mini book. กรุงเทพฯ: Page Maker Co.,Ltd,2556
ปกศักดิ์ นิลอุบล. เข้าใจพม่า ผ่านประสบการณ์ของปกศักดิ์ นิลอุบล อดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง พ.ศ. 2538-2551. กรุงเทพฯ: โค – ขยัน มีเดีย ทีม, 2552
ศูนย์ศึกษาการระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ไทย-เวียดนาม : ความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่กระชับแน่นหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พรพิมล ตรีโชติ. การต่างประเทศพม่า : ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านแลชนกลุ่มน้อย. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์-การพิมพ์, 2551
วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ. ฟิลิปปินส์ : ประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์,2555
วริศรา ภานุวัฒน์. แนวทางการลงทุนใน AEC .กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์แสงดาว, 2556.
วิทยา มิตรศรัทธา. หนังสือหนึ่งในประชาคมอาเซียน ชุด ประเทศฟิลิปปินส์. กรุงเทพฯ: บริษัท เจเนซิส มีเดียคอม จำกัด, 2556.
ดวงธิดา ราเมศวร์. ประวัติศาสตร์ประเทศในกลุ่มอาเซียน (๒) เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน. กรุงเทพฯ: แพรธรรม สำนักพิมพ์, 2537.
สีดา สอนศรี. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเมืองการปกครองหลังสั้นสุดสงครามเย็น. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541.
ดาณุภา ไชยพรธรรม. ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ๑๐ ประเทศในอาเซียน. กรุงเทพฯ: มายิก สำนักพิมพ์, 2537.
ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. ข้อมูลพื้นฐานสหภาพพม่า. ชลบุรี: ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.
ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. ข้อมูลพื้นฐานสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม. ชลบุรี: ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551.
ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. ข้อมูลพื้นฐานสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. ชลบุรี: ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552.
ประภัสสร์ เทพชาตรี. ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสนาธรรม, 2553.
อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์ บรรณาธิการ. ไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน. กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย, 2539.
จีระ หงส์ลดารมภ์. ทุนมนุษย์ของคนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทเอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์ จำกัด, 2555.
กรมอาเซียน. ประมวลเอกสารอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2539.
กรมอาเซียน.58 คาตอบ สู่ประชาคมอาเซียน 2558. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2556.
กรมอาเซียน.ฉันและเธอ เราคือ อาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2555.
กรมอาเซียน. ASEAN INFOGRAPHIC. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, มปป.
กรมอาเซียน. บันทึกการเดินทางอาเซียน ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ,
2556.
กองอาเซียน 3 กรมอาเซียน. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัท คาริสม่า มีเดีย จากัด, 2554.
กรมอาเซียน. สู่ระชาคมอาเซียน 2558 โครงการอบรมอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 7-8 กรกฎาคม 2556. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2556.
กรมอาเซียน. การเตรียมความพร้อมสู่ระชาคมอาเซียน ข้อมูลสาหรับการบรรยายองค์ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2555.
“สำรวจทรัพยากรธรรมชาติอาเซียน.” จุลสาร “จับตาอาเซียน” ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2557
1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้
1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการแบ่งปันรอยยิ้ม และความสุขแก่สังคม
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดง
ความคิดเห็น)
2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน แบบฝึกหัด งานมอบหมายในชั่วโมง
2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม การมีจิตอาสา ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
2.4 จากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1 ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว, พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
4.3. ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
4.4 การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ และนักศึกษาสามารถเรียนรู้
ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
5.6 นำเสนอรายการทางโทรทัศน์ที่น่าสนใจ สอดคล้องกับวิชาศิลปะการใช้ชีวิต