ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics 2 for Engineers

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักพื้นฐานทางฟิสิกส์ตามหัวข้อต่างๆ ในคำอธิบายรายวิชา
1.2แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้
1.3 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
- เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชานี้ ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเนื้อหา ตัวอย่างอ้างอิงเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต  แม่เหล็ก-ไฟฟ้า  ไฟฟ้ากระแสตรง  ไฟฟ้ากระแสสลับ  อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ทัศนศาสตร์  ฟิสิกส์ยุคใหม่   ทฤษฎีควอนตัม  เบื้องต้น  ฟิสิกส์ของแข็งเบื้องต้น  ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียส
3
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3)มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย
แบ่งกลุ่มระดมความคิด
  แนะนำและยกตัวอย่าง
บอก ระเบียบการเข้าชั้นเรียน
 
- สอบข้อเขียน
- นำเสนอในชั้นเรียน - ผลการเข้าชั้นเรียน
- การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ
ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- สอบย่อย
- สอบข้อเขียนกลางภาค
- สอบข้อเขียนปลายภาค
 (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด และนำเสนอ
- ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการนำเสนอ
 (3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-  แนะนำให้นักศึกษาใช้เครื่องคิดเลขพอสังเขป
-  เปิด facebook  สำหรับสอบถามปัญหาที่นักศึกษายังไม่เข้าใจในเวลาเรียน  และลงเนื้อหาพร้อมเฉลยแบบฝึกหัด
- จากการส่งงานและการใช้เครื่องคิดเลข
- จากสมาชิกของกลุ่ม  facebook ที่เรียนในรายวิชานั้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะการใช้เครื่องคำนวณ ความรู้และความเข้าใจเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ เรื่องคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ทบทวนการใช้เครื่องคำนวณ เน้นเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ที่เป็นพื้นฐานของวิชาวิศกรรมศาสตร์ สอนเรื่องตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์
1 FUNSC103 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1.2) , (1.3),(2.1) ,(3.2), (4.3),(5.2) - การทำแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย - การกำหนดเวลาการส่งงานแล้วนักศึกษาส่งตรงตามเวลาที่กำหนด - การเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียน - การใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า เช่น ทำแบบฝึกหัดลงในสมุดที่เหลือ หรือการใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้า เป็นต้น - เนื้อหาของรายงานที่ได้รับมอบหมาย - ความถูกต้องของแบบฝึกหัด - ความซื่อสัตย์ในการสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) ,(3.2) ,(5.2) คะแนนสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา (1.2) ,(2.1) ,(3.2) ,(5.2) - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 และ 17 60%
1.1 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
1.2 Schaum’s outline series, Physics
            2.1 คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 ฟิสิกส์ 2 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
            2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
            2.3 R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
   การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2  ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
   3.1   ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
   3.2  การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
   3.3  รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
   4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
   4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
   4.3   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
   5.1   นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
   5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย