หัวข้อพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Special Topic in Information Technology

1.1 จุดมุ่งหมายหลังจากที่เรียนรายวิชานี้แล้วนักศึกษามีความสามารถในการกระทําสิ่งต่อไปนี้ได้
1) เพื่อให้เกิดทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใหม่และหลักงานต่าง ๆ ไปใช้ในการเผยแพร่และใช้งานได้จริง
2) รู้จักแสวงหาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อปรับใช้ในการทํางาน
1.2 วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้นักศึกษามีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมสําหรับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
2) นักศึกษาสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้
3) นักศึกษาสามารถนําเสนอสิ่งที่ได้ค้นคว้าศึกษามาและสามารถถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้
4) สามารถจัดทําเอกสารได้อย่างถูกต้อง
5) สามารถปรับความรู้ที่มีให้เหมาะสมกับงานที่ทําได้
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและสอดคล้องกับหลักกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศที่บัญญัติและบังคับใช้ในปัจจุบัน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการใช้ชีวิตต่อไป
ศึกษาองค์ความรู้ด้านนวัตกรรม เทคนิค อุปกรณ์ที่ทันสมัย รวมถึงหัวข้อสนทนาการวิจัยทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งกำลังเป็นที่สนใจ
Study of up-to-date innovation and technological issues, as well as trendy research topics in computer and information technology.
     3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศและเว็บไซต์ Facebook หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
    3.2  อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน email: wiraiwans@rmutl.ac.th
    3.3  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหลังเลิกเรียนทุกวันพุธ เวลา 15.00 น. ถึง 17.00 น.
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
 
1.   ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้แต่ละบุคคลในกลุ่มรับผิดชอบอย่างชัดเจน
2.   ให้นักศึกษามีการอภิปรายร่วมทั้งกลุ่มเรียนหลังจากการค้นหาข้อมูลกลุ่มย่อยแล้ว เพื่อสรุปปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.   ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์หาทางแก้ปัญหา จากโจทย์ปัญหาหรือกรณีตัวอย่างที่อาจารย์สร้างขึ้น
4.   ให้นักศึกษามีการฝึกปฏิบัติการจริง ซึ่งจะก่อให้เกิดประสบการณ์ในการทำงานในอนาคต  
 
     สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเป็นรายบุคคล ทำการสุ่มในการอภิปรายหน้าชั้นเรียน เขียนสรุปหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองในแต่ละครั้งที่มีการทำงานกลุ่ม ทำการสอบประเมินผลปลายภาคการศึกษาเน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
˜2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
˜2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
˜2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
 
- การให้ภาพรวมของความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน การสรุปย้ำความรู้ใหม่หลังบทเรียนพร้อมกับเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เลือกใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
- ใช้รูปแบบการสอนในหลากหลายรูปแบบ เช่นการบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน การอภิปรายกลุ่ม
- กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
 
 
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- ประเมินจากผลงานระหว่างภาคเรียน เช่น การบ้าน การเขียนรายงาน การนาเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้อง
˜3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 65
š3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
 
 
- การมอบหมายงาน กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลอง ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และ แก้ปัญหา
- การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
- ประเมินจากการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
- ประเมินจากผลงานแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
˜4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
 
         
 
- มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม เช่น แบบฝึกหัด หรือรายงาน
- จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้มีมนุษยสัมพันธ์ร่วมกัน
 
 
 
- ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และ ความครบถ้วนชัดเจนของข้อมูล   
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
˜5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
˜5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
 
 
 
 
 
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอในรูปเอกสาร
 
 
 
 
 
 
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบายเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการนำเสนองานต่อชั้นเรียน
- ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.6 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลม 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา 2.5 เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างตอเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1 BSCCT905 หัวข้อพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.5 การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วมอภิปรายเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 2.5, 2.6, 3.1, 3.3, 4.1, 4.4, 4.6,5.3,5.4 พิจารณาจากรายงาน ผลงานของนักศึกษา การทำงานเป็นกลุ่ม การนำเสนอรายงาน วิเคราะห์ ค้นคว้า การนำเสนอรายงานเอกสาร 6-16 45%
3 4.1, 4.4, 4.6,5.3,5.4 การนำเสนอผลงาน 6-16 45%
   -เอกสารประกอบการสอน
-www.google.com
-www.garthner.com
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 
 
การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน ผลการตรวจแบบฝึกหัด การบ้านและรายงาน
     1.  แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
     2.  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียน
          -ปรับปรุงรายวิชา ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4           
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา